การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารการแสดง

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีกระบวนการรับและเตรียมความพร้อมนักศึกษา​ใหม่ที่ร่วมสมัย​ เป็นระบบ​ สามารถประชาสัมพันธ์​เนื้อหาของหลักสูตร​ให้นักศึกษา​ใหม่​ ส่งผลให้นักศึกษา​แรกเข้า​ มีความเข้าใจในตัวหลักสูตรตั้งแต่เริ่มเข้ามาเรียนปีแรก​ เพื่อลดอัตราการ​ตกออกระหว่างปีของนักศึกษา ยีงดำเนินการในระบบที่มีต่อไป หัวหน้าสาชาวิชา
2) มึการบูรณาการ​รายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร​ให้สอดคล้องกับรูปแบบกิจกรรมและโครงการต่างๆของสาขาวิชา​ และวิทยาลัยเป็นการเรียนแบบบูรณาการ​ ทำให้นักศึกษา​ได้ลงมือทำจริง ยังดำเนินการต่อไป เทศกาลละครเวที คณาจารย์ในสาขาวิชา โดยการประสานงานจากหัวหน้าสาขาฯ
3) การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และตอบสนองวัตถุประสงค์หลายด้านของหลักสูตร ยังดำเนินการต่อไป หัวหน้าสาขาวิชา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรมีระบบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาการตกออกของนักศึกษาแต่ละชั้นปี รวมไปถึงกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาของหลักสูตร พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษา ทั้งในระดับชั้นปี และรายวิชาPAC489 , PAC492 และ PAC493 1. การประชุมใหญ่ชั้นปี ในทุกภาคการศึกษา ช่วงก่อนลงทะเบียนล่วงหน้า 2, การกำหนดให้หัวหน้าสาขาฯ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักของนักศึกษา ในภาค S และ 1 ของปีการศึกษาแรกของนักศึกษาใหม่ ร่วมกับอาจารย์ที่หมุนเวียนสลับมาในแต่ละปี เพื่อความเป็นเอกภาพในการให้คำปรึกษา 3. การกำหนดให้นักศึกษาใหม่ เลือกอาจารย์ที่ปรึกษาด้วยตนเอง ตามจำนวนเฉลี่ย นักศึกษา / คณาจารย์ เพื่อความเป็นอิสระของนักศึกษา ได้เลือกอาจารย์ที่ตนรู้สึกสบายใจในการปรึกษา 4. หัวหน้าสาขาฯ ตรวจสอบผลการเรียนรวมของนักศึกษารายชั้นปี ในทุกภาคการศึกษา เพื่อแจ้งอาจารย์ที่ปรึกษาในกรณีที่พบปัญหาด้านการเรียนของนักศึกษารายคน 5.ติดตามผลการฝึกงานวิชาชีพ สหกิจศึกษา ปริญญานิพนธ์ ผ่านการประชุมคณาจารย์ประจำสาขา เพื่อเป็นการตรวจสอบผลงานร่วมกัน คณาจารย์ และหัวหน้าสาขาวิชา
2) หลักสูตรควรมีการวางแผนการส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรผลิตผลงานวิชาการที่เป็นงานวิจัยให้มีจำนวนมากขึ้น ส่งเสริมการทำผลงานสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาเป็นงานวิจัย สนับสนุนให้คณาจารย์ในสาชาเข้าร่วมกิจกรรมในหัวข้อโครงการสร้างสรรค์ทั้งในมหาวิทยาลัย และภายนอก หัวหน้าสาขาวิชา
3) หลักสูตรควรนำส่งรายงาน RQF.7 และ Upload รายการหลักฐาน ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแนวปฏิบัติสำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2566 ปรับปรุงการจัดทำรายงาน โดยวางแผนการทำงานล่วงหน้า หัวหน้าสาขาวิชา