การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยเภสัชศาสตร์
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ในปีการศึกษาที่ผ่านมาทางหลักสูตร ได้ครบเวลาต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรตามวงรอบ แต่ได้พบกับปัญหาคือมีการเปลี่ยนแปลงประกาศใหม่ของ สปอว เรื่องมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา และอยู่ในช่วงการร่างมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ ฉบับใหม่ พ.ศ. 2557 (หลักสูตรหกปี) จึงทำให้การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้เกิดความล่าช้า ซึ่งทางหลักสูตรต้องอาศัยการประสานงานกับสภาวิชาชีพโดยตรง เพื่อให้ทันตามกรอบเวลาที่กำหนด โดยทำการปรับปรุงหลักสูตรให้เป้นไปตามรูปแบบใหม่ที่สภาวิชาชีพเภสัชกรรมกำหนด คือเป็นการจัดการศึกาาที่ม่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (outcome base education) ทางหลักสูตรจัดการอบรมสร้างความเข้าใจให้คณาจารยื และบุคลากร เกี่ยวกับ การจัดการศึกาาที่ม่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (outcome base education) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำหลักสูตรใหม่ ทางหลักสูตรได้ทำการสำรวจข้อมูลความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย กับหลักสูตร เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการร่างหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต การอบรม เรื่อง การศึกษาทางเภสัชศาสตร์ที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้แบบ “Outcome-Based Education” ในวันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.00-16.15 น. - หลักการจัดการศึกษาแบบมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome-Based Education) - การกำหนด และการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ - กระบวนการออกแบบหลักสูตรโดยใช้แนวคิด Outcome-Based Education โดย ผศ.ดร.นพ.ดนัย วังสตุรค ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.ภญ. ทิพย์สุชน เอี่ยมสอาด

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การดูแลสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรให้เป็นไปตามเป้าหมาย พัฒนาอาจารย์ให้มีทักษะในการจัดการเรียนการสอน ในด้านการเขียนผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา และกลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลการเรียนรู้ 1. การอบรม เรื่อง การเขียนผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (Course Learning Outcomes: CLO) ในวันพฤหัสที่ 6 ตุลาคม 2565 เวลา 12.30-15.30 น. โดย รศ.ดร.ภญ.ลือลักษณ์ ล้อมลิ้ม อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. การอบรม เรื่อง กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลการเรียนรู้ ในวันศุกร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 9.00 – 12.00 น. ณ ห้อง 6-200 ตึก 6 (อาคารพระพิฆเนศ) มหาวิทยาลัยรังสิต - บรรยายเรื่อง กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลการเรียนรู้ โดย รศ.ภก.ปรีชา มนทกานติกุล รองคณบดีฝ่ายการศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - การเขียน มคอ.3 สำหรับหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2567 โดย ผศ.ดร.ภญ.ทิพย์สุชน เอี่ยมสอาด ผศ.ดร.ภญ.สุชาดา จงรุ่งเรืองโชค และ ผศ.ดร.ภญ.ธิดารัตน์ เพ็ชรมณี ผศ.ดร.ภญ.ทิพย์สุชน เอี่ยมสอาด ผศ.ดร.ภญ.สุชาดา จงรุ่งเรืองโชค