การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยเภสัชศาสตร์
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) เนื่องจากมีประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาเรื่องมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาเภสัศาสตร์ (มคอ.1) เมื่อปีพ.ศ. 2567 และทางหลักสู สูตรได้มีการเริ่มใช้หลักสูตรฉบับปรับปรุง 2567 หลักสูตรเภสัชบัณฑิตสาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม ได้ใช้โอกาสนี้ ในอบรมและพัฒนาอาจารย์ให้ เข้ าใจในการจัดการเรียน-การสอน การออกข้ อสอบ การประเมินผลโดยมุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดำเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรให้ได้ผลลัพท์เป็นไปตาม learning outcome ที่ตั้งไว้ โดย - ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนให้มีการบูรณาการเนื้อหาความรู้ให้ได้ตาม competency ของสภาเภสัชกรรม - มีการกำกับการจัดการเรียนการสอนให้ได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้ โดยกำหนดให้มีการทำ lesson plan และ bluprint ข้อสอบ การพัฒนาแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ - การเพิ่มจำนวนแหล่งฝึกงาน - การพัฒนาคุณภาพแหล่งฝึก โครงการจัดเตรียมความพร้อมในการเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดำเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต รองคณบดีฝ่ายวิชาการและการวิจัย ผู้อำนวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม ผู้อำนวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) กระบวนการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ปรับในเป็นรูปแบบ outcome base learning เพิ่มขึ้น พัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล ในการจัดการเรียนการสอนแบบ OBE การจัดอบรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และการประเมินผล ให้กับคณาจารย์ ครูปฏิบัติการ และเจ้าหน้าที่วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ เรื่อง "การเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดำเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" ในวันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุมสุริยเทพ อาคารศาลาดนตรีสุริยเทพ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและการวิจัย หัวหน้าหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริลาลทางเภสัชกรรม หัวหน้าหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุสาหการ
2) การวัดและประเมินผลการเรียนควรจัดให้มีความสอดคล้องกับ learning outcome ที่ตั้งไว้ พัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนควรจัดให้มีความสอดคล้องกับ learning outcome ที่ตั้งไว้ โครงการประชุมเชิงปฎิบัติการหัวข้อ “RSU outcome Based education methodology” ในวันอังคารที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 9.30-12.00 น ณ ห้องประชุม 1-301 มหาวิทยาลัยรังสิต การจัดอบรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และการประเมินผล ให้กับคณาจารย์ ครูปฏิบัติการ และเจ้าหน้าที่วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ เรื่อง "การเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดำเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" ในวันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุมสุริยเทพ อาคารศาลาดนตรีสุริยเทพ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและการวิจัย หัวหน้าหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริลาลทางเภสัชกรรม หัวหน้าหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุสาหการ
3) แหล่งฝึกปฏิบัติงานควรหาเพิ่มขึ้นให้เพียงพอกับนักศึกษา และพัฒนามาตรฐานแหล่งฝึกงานให้มีศักยภาพฝึกงานนักศึกษา ทำ MOU กับแหล่งฝึกเพิ่มขึ้น และวางแผนงานพัฒนาศักยภาพแหล่งฝึกงานโดยคณาจารย์จากวิทยาลัยเภสัชศาสตร์ ม.รังสิต โครงการพัฒนาแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ ม.รังสิต รองคณบดีฝ่ายวิชาการและการวิจัย หัวหน้าหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริลาลทางเภสัชกรรม หัวหน้าหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุสาหการ ผู้อำนวยการศูนย์ฝึกปฏิบัติงาน วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ ม.รังสิต