การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยเภสัชศาสตร์
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) เนื่องจากมีประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาเรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ (มคอ.1) เมื่อปี พ.ศ. 2567 และทางหลักสูตรได้มีการเริ่มใช้หลักสูตรฉบับปรับปรุง 2567 ทางหลักสูตรเภสัชกรรมอุตสาหการ ได้ใช้โอกาสนี้ในอบรมและพัฒนาอาจารย์ให้เข้าใจในการจัดการเรียน-การสอน การออกข้อสอบ การประเมินผล โดยมุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ เพื่อเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดำเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 1) ปัญหา – การจัดการเรียน การสอนในหลักสูตร 2) ปัญหา - การเขียน lesson plan และ การจัดทํา blueprint ข้อสอบในหลักสูตร 3) ปัญหา - การหาแหล่งฝึกงานและการทำ MOU ร่วมมือกับหลักสูตร 4) ปัญหา - ความเครียดของนักศึกษา โครงการการเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ผู้อํานวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม ผู้อํานวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การจัดการเรียน การสอนในหลักสูตร พัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ ทักษะในการสอน 1) เพื่อกำหนดค่าเป้าหมายของผลลัพธ์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะของมหาวิทยาลัยรังสิต 2) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลแบบ Outcome-Based Education 3) เพื่อพัฒนาการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้และการแสดงหลักฐานเชิงประจักษ์ให้บรรลุตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา จัดอบรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การประเมินผล เรื่อง “การเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต”ในวันพุธที่3 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุมสุริยเทพ อาคารศาลาดนตรีสุริยเทพ. ให้กับคณาจารย์ครูปฏิบัติการ และเจ้าหน้าที่ในวิทยาลัยฯ อาจารย์ผู้ประสานงาน : รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ผู้อํานวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม ผู้อํานวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ ผู้อํานวยการฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
2) การเขียน lesson plan และ การจัดทํา blueprint ข้อสอบในหลักสูตร การประเมินผลแบบ rubric score และกาออกข้อสอบ พัฒนาอาจารย์ให้มีทักษะโดยการอบรมสาธิตการวิเคราะห์ความสอดคล้องของ lesson plan และ blueprint กับ CLOs ใน RQF 3 สาธิตการวิเคราะห์และประเมินผลสอบตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กําหนดใน RQF3 และนําข้อมูลรายงานใน RQF 5 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “RSU Outcome-Based Education Methodology” ในวันอังคารที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2567 เวลา 09.30-12.00 น. ณ ห้องประชุม 1-301 ชั้น 3 อาคารอาทิตย์ อุไรรัตน์ โครงการการเตรียมความพร้อมในกระบวนการตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษา หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต สำนักงานพัฒนาบุคคล มหาวิทยาลัยรังสิต รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ผู้อํานวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม ผู้อํานวยการหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ ผู้อํานวยการฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
3) ความเครียดของนักศึกษา โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา โดยอาจารย์ที่ปรึกษา หัวข้อ “Mental Health Awareness : บทบาทอ.ที่ปรึกษาและการรับมือความเครียดในวันพุธที่9 ตุลาคม 2566 เวลา 13.30 - 16.30 น. โดยทีมวิทยากร นักจิตวิทยาสำนักงานสวัสดิการสุขภาพ คุณบุญจิรา ชลธารนที และภญ.ธัญภัสสร คล่องแคล่ว สำนักงานสวัสดิการสุขภาพ หน่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต
4) การหาแหล่งฝึกงานและการทำ MOU ร่วมมือกับหลักสูตร เพี่อการรับรองสถาบันผลิตบัณฑิตเภสัชศาสตร์ ของ วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ สภาเภสัชกรรม ได้กำหนดวันประเมินเพื่อรับรองสถาบันผลิตบัณฑิตเภสัชศาสตร์ ของ วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในวันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2567 เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุม 1-801 ชั้น 8 อาคารอาทิตย์ อุไรรัตน์ (ตึก 1) สภาเภสัชกรรม