การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) หลักสูตรมีแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ทำให้อาจารย์มีคุณวุฒิและผลงานวิชาการเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง สมควรที่จะนำแนวปฏิบัตินี้ถ่ายทอดผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต การถ่ายทอดแนะนำแนวปฏิบัตินี้ถ่ายทอดผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS กิจกรรมถ่ายทอดมีแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ทำให้อาจารย์มีคุณวุฒิและผลงานวิชาการเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต หัวหน้าหลักสูตร
2) หลักสูตรมีระบบกลไกในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา มีผลการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีผลลัพธ์ที่ดีเกินค่าเป้าหมาย จนถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดี สมควรที่จะนำแนวปฏิบัตินี้ถ่ายทอดผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต การถ่ายทอดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับระบบกลไกในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา จนมีผลการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีผลลัพธ์ที่ดีเกินค่าเป้าหมาย ผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต กิจกรรมถ่ายทอดผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการบริหารจัดการระบบกลไกในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา จนมีผลการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีผลลัพธ์ที่ดีเกินค่าเป้าหมาย จนถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดี หัวหน้าหลักสูตร
3) หลักสูตรมีระบบกลไกในการพัฒนาและปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามความต้องการของอาจารย์และนักศึกษา มีห้องปฏิบัติการณ์ที่ทันสมัย จนเป็นห้องปฏิบัติการณ์ที่มีหน่วยงานภายนอกมาขอเยี่ยมชม หลักสูตรควรจัดการความรู้ถึงแนวปฏิบัติที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการบริหารสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ตอบความต้องการของอาจารย์และนักศึกษาตลอดจนตอบการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา การพัฒนาการถ่ายทอดเรื่องระบบกลไกต่างๆดังต่อไปนี้ผ่านระบบการจัดการความรู้ 1.การพัฒนาและปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามความต้องการของอาจารย์และนักศึกษา มีห้องปฏิบัติการณ์ที่ทันสมัย จนเป็นห้องปฏิบัติการณ์ที่มีหน่วยงานภายนอกมาขอเยี่ยมชม 2.การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา 1.กิจกรรมการการถ่ายทอดเรื่องระบบกลไกต่างๆดังต่อไปนี้ผ่านระบบการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยรังสิตเรื่องการพัฒนาและปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามความต้องการของอาจารย์และนักศึกษา มีห้องปฏิบัติการณ์ที่ทันสมัย จนเป็นห้องปฏิบัติการณ์ที่มีหน่วยงานภายนอกมาขอเยี่ยมชม 2.กิจกรรมการการถ่ายทอดเรื่องระบบกลไกต่างๆดังต่อไปนี้ผ่านระบบการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยรังสิตเรื่องการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา 3.การนำเสนอแผนการปรับปรุงและพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการพัฒนานักศึกษาในทุกมิติต่อมหาวิทยาลัยรังสิต หัวหน้าหลักสูตร/คณบดี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) หลักสูตรมีการออกแบบสาระรายวิชาที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและสถานประกอบการ ซึ่งควรเพิ่มเติมการเชื่อมโยงรายวิชาและกระบวนการจัดการเรียนการสอนกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอมมาตรฐานคุณวุฒิ 3 ด้านให้ชัดเจนมากขึ้น 1.การปรับปรุง/พัฒนาระบบการสรุปผลการดำเนินงานในเรื่องการเชื่อมโยงรายวิชาและกระบวนการจัดการเรียนการสอนกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอมมาตรฐานคุณวุฒิ 3 ด้านให้ชัดเจนมากขึ้น 2.การปรับปรุง/พัฒนาระบบการสรุปผลการดำเนินงานในเรื่องการเชื่อมโยงการจัดกิจกรรมนักศึกษาเข้ากับรายวิชาและกระบวนการจัดการเรียนการสอนรวมทั้งกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอมมาตรฐานคุณวุฒิ 3 ด้าน ให้ชัดเจนมากขึ้น 1.การสัมมนาประจำปี/การประชุมประจำเดือนและการสัมมนาประจำภาคการศึกษาเรื่องการปรับปรุง/พัฒนาระบบการสรุปผลการดำเนินงานในเรื่องการเชื่อมโยงรายวิชาและกระบวนการจัดการเรียนการสอนกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอมมาตรฐานคุณวุฒิ 3 ด้านให้ชัดเจนมากขึ้น 2.การสัมมนาประจำปี/การประชุมประจำเดือนและการสัมมนาประจำภาคการศึกษาเรื่องการปรับปรุง/พัฒนาระบบการสรุปผลการดำเนินงานในเรื่องการเชื่อมโยงการจัดกิจกรรมนักศึกษาเข้ากับรายวิชาและกระบวนการจัดการเรียนการสอนรวมทั้งกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอมมาตรฐานคุณวุฒิ 3 ด้าน ให้ชัดเจนมากขึ้น 3.การพัฒนาแบบฟอร์มสรุปผลลัพธ์การเรียนรู้ประจำภาคการศึกษาและประจำปีการศึกษา 4.กิจกรรมทวนสอบผลลัพธ์การเรียนรู้กับมาตรฐานของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพและสภาวิศวกร 1.คณบดี 2.หัวหน้าหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 3.ผู้รับผิดชอบรายวิชา 4.อาจารย์ประจำรายวิชา
2) หลักสูตรควรรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้ระดับรายวิชาและรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิตามมาตราฐานการจัดการเรียนรู้ (ตามแบบฟอร์มของสมว.) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาว่าดีขึ้นอย่างไร ต้องนำผลประเมินฯ ไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิการเรียนรู้ต่อไปอย่างไร 1.พัฒนาการจัดทำรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา 2.พัฒนาการจัดทำรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิตามมาตราฐานการจัดการเรียนรู้ (ตามแบบฟอร์มของสมว.) 3.จัดทำการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมา 4.การนำผลประเมินฯ ไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิการเรียนรู้ต่อไป 1.การสัมมนาประจำปี/การประชุมประจำเดือนและการสัมมนาประจำภาคการศึกษาเรื่องการจัดทำรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา 2.การสัมมนาประจำปี/การประชุมประจำเดือนและการสัมมนาประจำภาคการศึกษาเรื่องการจัดทำรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิตามมาตราฐานการจัดการเรียนรู้ (ตามแบบฟอร์มของสมว.) 3.การพัฒนาแบบฟอร์มสรุปจัดทำการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมา 4.กิจกรรมการประชุมสัมมนาเพื่อนำผลประเมินฯ ไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิการเรียนรู้ต่อไป 1.คณบดี 2.หัวหน้าหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 3.ผู้รับผิดชอบรายวิชา 4.อาจารย์ประจำรายวิชา