# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
หลักสูตรปรับปรุงพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาชีพเป็นแบบกลุ่มวิชาในลักษณะ Modular Based ให้มีประสิทธิผล
มากขึ้นรวมทั้งการปรับกระบวนการวัดและประเมินผลที่เน้น Outcome Based Asssment มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน |
1.ประเมินกระบวนการและปรับปรุงวิธีการในด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนในรูปแบบOutcome Based Learningเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการจัดกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้และทักษะของนักศึกษา ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในทุกมิติเพื่อหาจุดแข็งและจุดอ่อนและนำมาปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
2.เสริมจุดแข็งพร้อมทั้งปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานจุดอ่อนของกระบวนการเรียนการสอนในรูปแบบOutcome Based Learning กระบวนการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการจัดกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้และทักษะของนักศึกษา ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในทุกมิติ ให้ดียิ่งๆขึ้นไป
3.กระตุ้นและส่งเสริมให้มีการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานทักษะและกระบวนการสอนของอาจารย์เพื่อเข้าสู่การเป็นอาจารย์ตามแนวทางใหม่โดยใช้กระบวนการ Delearn & Relearn ประกอบกับการใช้ PLC (Professional Learning Community) โดยให้ศึกษาจากระบบการจัดการความรู้( KM)
|
1.ประชุมสัมมนาประจำเดือนและประจำปีของวิทยาลัย
2.ให้อาจารย์เรียนรู้โดยใช้วิธี PLC (Professional Learning Community) และให้ศึกษาจากระบบการจัดการความรู้( KM)
3.ใช้กระบวนการทางด้านการบริหารจัดการโดยการให้ตัวเสริมแรงทั้งในด้านบวกและด้านลบ
4.ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานที่ใช้ในกระบวรการเรียนรู้ในทุกมิติ
|
1.คณบดี
2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
3.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.หัวหน้ารายวิชา
|
2) |
หลักสูตรได้รับการยอมรับให้เป็นที่สอบวัดระดับมาตรฐานของวิชาชีพวิศวกร ชีวการแพทย์จากสถาบัณคุณวุฒิวิชาชีพ ผู้บริหารและคณาจารย์ของหลักสูตรได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในระดับประเทศในหลายๆ มิติ ที่สําคัญที่สุดคือ หลักสูตรได้รับการรับรองจากสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพในเรื่องผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยที่บัณฑิตของหลักสูตรจะได้ใบรับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์ อาชีพวิศวกรชีวการแพทย์ ระดับ 4 โดยอัตโนมัติซึ่งเป็ นสถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ที่เดียวในประเทศไทย |
1.ประเมินกระบวนการและปรับปรุงวิธีการในด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนในรูปแบบOutcome Based Learningเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเรียนรู้และทักษะของนักศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
2.ปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานในด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษามีสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานรับรองมาตรฐานวิชาชีพมากขึ้น
3.รักษาสถานะภาพและความเชื่อมั่นต่อคุณภาพของบัณฑิตของหน่วยงานรับรองมาตรฐานและแหล่งงานต่อหลักสูตรและบัณฑิตให้ดียิ่งๆขึ้นตลอดไป |
1.พัฒนาอาจารย์
2.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในทุกมิติ
3.พัฒนาเนื้อหาสาระของหลักสูตรให้ทันสมัยต่อโลกและสามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับประเทศและระดับสากลอยู่ตลอดเวลา |
1.คณบดี
2.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3.หัวหน้ารายวิชา |
3) |
หลักสูตร มีการผลิตบัณฑิตที่ได้มาตรฐานได้รับการยอมรับจากผู้ประกอบการในระดับสูง มีผลประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตด้วยคะแนนประเมินระดับดีมาก และมีแนวโน้มดี ตลอดจนบัณฑิตมีงานทำร้อยละ 100
|
1.ประเมินแผนงานและกระบวนการดำเนินงานของแผนงานที่เกี่ยวข้องในทุกมิติ ภายใต้ปณิธานที่ว่า วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต มุ่งทำให้โลกแห่งการเรียนรู้ โลกแห่งการทำงานและโลกแห่งอนาคตเป็นโลกเดียวกัน
2.เสริมจุดแข็งและประบปรุงแก้ไขจุดอ่อนของแผนงานที่เกี่ยวข้องในข้อที่1เพื่อรักษาสถานะและเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการดำเนินงานของหลักสูตรในทุกมิติเพื่อรักษาและเพิ่มคุณภาพของผลลัพธ์ของการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืนตลอดไป
|
1.การพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนทั้งในแง่ปริมาณและคุณภาพให้สอดคล้องกับทิศทางการดำเนินงานของหลักสูตร
2.การปรับปรุงพัฒนากระบวนการพัฒนานักศึกษาและการผลิตบัณฑิตในทุกมิติเพื่อให้สามารถรักษาและ/หรือเพิ่มสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการและสามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับประเทสและระดับสากล
|
1.คณบดี
2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
3.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.หัวหน้ารายวิชา
5.อาจารย์ประจำทุกท่าน
6.ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุน
|
4) |
หลักสูตรมีแผนการดําเนินงาน มีการดําเนินงานตามแผน มีการประเมินผลการดําเนินงานและมีการนําเอาผลการประเมินในทุกมิติ มาปรับปรุงทั้งในแง่คุณภาพและปริมาณอีกทั้งมีการประเมินแผนการดําเนินงานในทุกปีการศึกษา เพื่อทําการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกในทุกมิติ ทําให้บุคลากรทั้งสายอาจารย์และสายสนับสนุนการสอน มีความพร้อมทั้งทางด้านคุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการ มีความเชี่ยวชาญทั้งในด้านการสอนวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งบุคลากรสายสนับสนุนการสอนก็มีความพร้อมด้านการให้บริการและอํานวยความสะดวกต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษาในทุกมิติ นำมาซึ่งรางวัล good practice ผ่านระบบ RKMS ดีเด่น 2 รางวัล ในปีการศึกษา 2566 |
1.ประเมินแผนงานและกระบวนการดำเนินงานของแผนงานที่เกี่ยวข้องในทุกมิติ ภายใต้ปณิธานที่ว่า วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต มุ่งทำให้โลกแห่งการเรียนรู้ โลกแห่งการทำงานและโลกแห่งอนาคตเป็นโลกเดียวกัน
2.เสริมจุดแข็งและประบปรุงแก้ไขจุดอ่อนของแผนงานที่เกี่ยวข้องในข้อที่1เพื่อรักษาสถานะและเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการดำเนินงานของหลักสูตรในทุกมิติเพื่อรักษาและเพิ่มคุณภาพของผลลัพธ์ของการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืนตลอดไป
|
1.การพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนทั้งในแง่ปริมาณและคุณภาพให้สอดคล้องกับทิศทางการดำเนินงานของหลักสูตร
2.การปรับปรุงพัฒนากระบวนการพัฒนานักศึกษาและการผลิตบัณฑิตในทุกมิติเพื่อให้สามารถรักษาและ/หรือเพิ่มสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการและสามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับประเทสและระดับสากล
3.การจัดการความรู้ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อชี้นำให้กับสังคมภายนอกได้รับทราบเพื่อเรียนรู้และนำไปเป็นแนวทางปฏิบัติ
|
1.คณบดี
2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
3.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.หัวหน้ารายวิชา
5.อาจารย์ประจำทุกท่าน
6.ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุน
|
5) |
หลักสูตรมีการพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ที่ประสบความสําเร็จ โดยที่วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์เป็นเป้าหมายแรกๆ ของบุคคลจากภายนอกที่ต้องการมาเยี่ยมชมดูงานที่มหาวิทยาลัยรังสิตเพราะปัจจัยที่สําคัญคือต้องการมาเยี่ยมชมระบบสนับสนับสนุนการเรียนรู้ของวิทยาลัยฯ ที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานภายนอก เช่น สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี รวมทั้งสมาคมวิศวกรรมชีวการแพทย์ไทย ให้เป็นองค์กรที่ทําหน้าที่สอบรับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์จํานวนอย่างน้อย 3 มาตรฐานวิชาชีพคือวิชาชีพวิศวกรชีวการแพทย์ในโรงพยาบาล วิชาชีพการสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ และวิชาชีพการผลิตเครื่องมือแพทย์เนื่องมาจากปัจจัยสําคัญที่สุดในการได้รับการรับรองคือความพร้อมของระบบสนับสนุนการเรียนรู้เช่นอาคารสถานที่และอุปกรณ์เครื่องมือเป็นต้น หลักสูตรจึงควรถ่ายทอดแนวปฏิบัติที่ดีดังกล่าวผ่านระบบ RKMS ต่อไป
|
1.ประเมินแผนงานและกระบวนการดำเนินงานของแผนงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกมิติ ภายใต้ปณิธานที่ว่า วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต มุ่งทำให้โลกแห่งการเรียนรู้ โลกแห่งการทำงานและโลกแห่งอนาคตเป็นโลกเดียวกัน
2.เสริมจุดแข็งและประบปรุงแก้ไขจุดอ่อนของระบบสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกมิติที่เกี่ยวข้องในข้อที่1เพื่อรักษาสถานะและเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการดำเนินงานของหลักสูตรในทุกมิติเพื่อรักษาและเพิ่มคุณภาพของผลลัพธ์ของการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืนตลอดไป
|
1.โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยมากขึ้น
2.โครงการปรับปรุงพัฒนาห้องเรียนและห้องปฏิบัติการเครื่องมือแพทย์และระบบคอมพิวเตอร์พร้อมระบบเครือข่ายเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกมิติของโลกวิศวกรรมชีวการแพทย์เช่นเครื่องมือแพทย์ ระบบAIและระบบIoT ทางการแพทย์งานด้านวิศวกรรมคลินิก ศูนย์บริการวิชาการ รวมทั้งห้องวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและการทำวิจัยของอาจารย์และเป็นไปตามปณิธาน โดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือผลิตบัณฑิตระดับมันสมองของประเทศทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์
|
1.คณบดีและรองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
2.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุน
|
# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
ในอนาคตหลักสูตรอาจเพิ่มกิจกรรมพัฒนานักศึกษาทางทักษะดิจิตอล และทักษะ AI |
เนื่องจากหลักสูตรได้จัดให้เรียนระบบAIทางการแพทย์มาตั้งแต่ปีการศึกษา2560 แต่อย่างไรก็ตามหลักสูตรจะทำการการทบทวนและ
ปรับปรุงทั้งแผนงานและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมพัฒนานักศึกษาทางทักษะดิจิตอล และทักษะ AIในทุกมิติในการผลิตบัณฑิต
เพื่อรักษาและต่อยอดประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานโดยการSynergyภารกิจของบุคลากรและนักศึกษาในด้านต่างๆดังนี้
1.ด้านกระบวนการผลิตบัณฑิตโดยใช้กระบวนการ Outcome Based Education ในทุกมิติ
2.ด้านโครงสร้างพื้นฐานในทุกมิติ
3.ด้านบริการวิชาการและ
4.ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
|
1.กิจกรรรมพัฒนาบุคลากรทางด้านการพัฒนางานวิจัยและทักษะการสอนทางทักษะดิจิตอล และทักษะ AI
2.กิจกรรมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการพัฒนาทักษะดิจิตอล และทักษะ AI ของนักศึกษา
3.กิจกรรมการวิจัยและพัฒนาโครงงานเพื่อรองรับการพัฒนาทักษะดิจิตอล และทักษะ AI ของนักศึกษา
4.กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาชมรมAIทางการแพทย์เพื่อพัฒนาทักษะดิจิตอล และทักษะ AI ของนักศึกษานักศึกษา
5. โครงการรับอาจารย์ใหม่และส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์เพื่อรองรับกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาทางทักษะดิจิตอล และทักษะ AI
โดยทุกโครงการจะทำงานในลักษณะSynergy โดยมีจุดมุ่งหมายในด้านการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้เป็นกำลังสมองทางด้านระบบAI
ทางการแพทย์ให้กับประทศไทย
|
1.คณบดี
2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
3.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.หัวหน้ารายวิชา
5.อาจารย์ประจำทุกท่าน
6.ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุน
|
2) |
การพัฒนาผลงานวิจัยของคณาจารย์และ/หรือโครงงานของนักศึกษา ต้องเน้นการพัฒนาหลายๆครั้งจนกระทั่งมีความพร้อมที่จะสามารถนําไปใช้งานได้จริงและ/หรือสามารถดําเนินการในเชิงพาณิชย์ได้โดยในการจัดทําโครงงานในระยะเริ่มต้นครั้งที่ 1 ต้องให้มีระดับความพร้อมทางด้านเทคโนโลยี(Technology Readiness Levels: TRLs) อย่างน้อยเกินระดับ 4 (Prototype Development)และต้อง
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากนักศึกษาในแต่ละรุ่นภายใต้การกํากับของอาจารย์ที่ปรึกษาและ/หรืออาจารย์ที่ปรึกษาสามารถนําไปต่อยอดขอทุนวิจัยจากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อให้มีความพร้อมที่จะนําไปดําเนินการในระดับ 9 คือเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้งานหรือสามารถดําเนินการในเชิงพาณิชย์ได้ |
ตั้งแต่อดีต(พ.ศ.2545)หลักสูตรได้วางแนวทางการพัฒนางานวิจัยในลักษณะดังกล่าวและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นก็เป็นไปตามเป้าหมายถึงแม้ว่า
จะก้าวไปถึงระดับTRL9ได้ไม่มากนัก ดังนั้นทางวิทยาลัยและหลักสูตรได้ทำการประเมินและทบทวนแผนการดำเนินงานอยู่อย่างตลอดเวลา
โดยมีแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาดังนี้
1.ในระดับเบื้องต้น งานวิจัยของอาจารย์และนักศึกษาต้องสามารถจดอนุสิทธิบัตรได้และอยู่ในระดับTRL3-5
2.ในระดับสูงขึ้นไปได้วางแผนในการพัฒนาต่อยอดโดยการร่วมมือกับหน่วยงานในภาคเอกชนเพื่อนำผลงานไปพัฒนาต่อยอดเนื่องจาก
ข้อจำกัดด้านงบประมาณ
3.ในกรณีของผลงานในบางประเภทสามารถนำๆไปใช้งานจริงในด้านประกอบการเรียนการสอนหรือใช้ในงานบริการวิชาการเพื่อชุมชน
และสังคม
|
1.โครงการศูนย์BISและศูนย์BMERSUTTC
2.โครงการวิศวกรชีวการแพทย์สู่ชุมชน
3.ในข้อกำหนดของหลักสูตรระดับปริญญาตรีได้กำหนดให้นักศึกษาต้องผลิตผลงานและนำไปจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาเป็นเกณฑ์การผ่านการประเมินผลในรายวิชาโครงงานวิศวกรรมชีวการแพทย์
|
1.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
2.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3.หัวหน้ารายวิชา
4.อาจารย์ประจำทุกท่าน
|
3) |
การพัฒนาบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ ในเรื่องนี้ถือว่าเป็นแผนงานในระยะสั้นถึงปานกลางที่ถือว่าเป็นความท้าทายของหลักสูตร เนื่องจากโลกในอนาคตหลังวิกฤตโควิด-19 นั้นการเป็นผู้ประกอบการโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านเครื่องมือแพทย์และเทคโนโลยีทางด้านการดูแลรักษาสุขภาพเพื่อการพึ่งพาตนเองของประเทศนั้น ถือว่ามีความมั่นคงเป็นอย่างสูงทั้งส่วนบุคคลและอนาคตของประเทศไทย |
ผ่านมาบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ มีจิตวิญญาณผู้ประกอบการหรือที่เรียกว่า Self of Belonging ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการ
ของผู้ประกอบการซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้อัตราการได้งานครบ100เปอร์เซ็นต์ในระยะเวลาที่รวดเร็ว อย่างไรก็ตามในปัจจุบันอัตราการ
เป็นผู้ประกอบการอยู่ในระดับที่น่าพอใจโดยในแต่ละรุ่นโดยเฉลี่ยจะมีผู้ประกอบการเกิดขึ้นอย่างน้อย1-2คน ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง
ก็คืออัตราการได้รับการสนับสนุนเป็นผู้บริหารทั้งในระดับต้น ระดับกลางและระดับสูงในองค์กรต่างๆถือว่าเป็นไปอย่าง
รวดเร็วโดยเฉลี่ยมีศิษย์เก่าที่เป็นผู้บริหารระดับต้นหลังจากจบการศึกษาไปแล้วประมาณ3ปี อย่างไรก็ตามทางหลักสูตรได้ทำการประเมิน
และทบทวนแผนการดำเนินงานอยู่ตลอดเวลาเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น โดยมีแนวทางดังนี้
1.จัดกิจกรรมหลักสูตร Mini MBA ด้านการบริหารจัดการงานวิศวกรรมชีวการแพทย์ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่4เรียนเสริม
2.ในทุกชั้นปีได้มีกิจกรรมเสริมในด้านจิตสำนึกในการเป็นผู้ประกอบการตั้งแต่ชั้นปีที่1-ปีที่4
3.กิจกรรมการส่งเสริมให้นักศึกษาในแต่ละชั้นปีเป็นเจ้าภาพในการจัดและบริหารจัดการกิจกรรมต่างๆภายในวิทยาลัย ได้แก่
ชั้นปีที่1 เป็นผู้ช่วยชั้นปีที่2ในการเป็นเจ้าภาพในการจัดกิจกรรมวันขึ้นปีใหม่และคืนสู่หย้า วันไหว้ครู งานปัจฉิมนิเทศ
ชั้นปีที่2 เป็นเจ้าภาพ ในเรื่องบริหารจัดการสโมสรนักศึกษา กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่และคืนสู่หย้า วันไหว้ครู งานปัจฉิมนิเทศ
ชั้นปีที่3 เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมบริการวิชาการในทุกมิติ เป็นเจ้าภาพในการบริหารจัดการศูนย์BIS เป็นเจ้าภาพในกิจกรรมค่ายอุปกรณ์การแพทย์สัญจร และกิจกรรมวิศวกรรมชีวการแพทย์สู่ชุมชน
ชั้นปีที่4 เป็นเจ้า ภาพในการบริหารจัดการศูนย์ TTC และบริหารจัดการงานBME Innovation Day
|
1. กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่และคืนสู่หย้า วันไหว้ครู งานปัจฉิมนิเทศ
2. บริหารจัดการสโมสรนักศึกษา กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่และคืนสู่หย้า วันไหว้ครู งานปัจฉิมนิเทศ
3. การบริหารจัดการศูนย์BISในการบริการวิชาการในทุกมิติ เป็นเจ้าภาพในกิจกรรมค่ายอุปกรณ์การแพทย์สัญจร
และกิจกรรมวิศวกรรมชีวการแพทย์สู่ชุมชน
4. กิจกรรมบริหารจัดการศูนย์ TTC และบริหารจัดการงานBME Innovation Day
|
1.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
2.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3.หัวหน้ารายวิชา
4.อาจารย์ที่ปรึกษาประจำชั้นปี
4.อาจารย์ประจำทุกท่าน
|
4) |
เนื่องจากระบบโครงสร้างพื้นฐานในทุกมิติในระยะที่ผ่านมา สามารถรองรับการการจัดการศึกษาสําหรับนักศึกษาได้สูงสุดไม่เกิน 350 คนแต่ในระยะต่อไป (2565-2569) น่าจะมีนีกศึกษาเพิ่มมากขึ้นหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
เป็น 400-450 คน ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยต้องสนับสนุนในเรื่องของระบบโครงสร้างพื้นฐานในทุกมิติเพื่อให้ทางหลักสูตร/วิทยาลัยใช้ในการจัดการศึกษาต่อไป |
1.เสนอต่อมหาวิทยาลัยเพื่อขออนุมัติในเรื่องการปรับปรุงและพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานในทุกมิติได้แก่
1.1 การปรับปรุงและพัฒนาห้องเรียนทั้งภาคบรรยายและภาคปฏิบัติการเพิ่มขึ้น
1.2การปรับปรุงและพัฒนาวัสดุและอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการเพิ่มขึ้น
1.3การปรับปรุงพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ทั้งHardware และ Software เพิ่มขึ้นทั้งในแง่ปริมาณและคุณภาพ
1.4การรับอาจารย์ประจำในด้านที่จำเป็นตามทิศทางการพัฒนาของวิทยาลัยเพิ่มขึ้นเพื่อให้ได้ตามมาตรฐาน
ของระบบFTES
1.5 การปรับปรุงภูมิทัศน์ของวิทยาลัยให้มีความสวยงามและทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
2.พัฒนาระบบEco-Systemและฐานวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ในทุกมิติทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของปริมาณบัณฑิต
|
1.โครงการปรับปรุงและพัฒนาห้องเรียนและห้องปฏิบัติการด้านต่างๆพร้อมระบบคอมพิวเตอร์ทั้งHardware และ Softwareได้แก่
1.1 ห้อง BME Work shpo
1.2 ห้องเรียนภาคบรรยาย
1.3 ห้องปฏิบัติการ Medical IoT ห้องปฏิบัติการสารสนเทศทางการแพทย์ และMedical AI
ห้องปฏิบัติการ Medical Imaging ห้องปฏิบัติการเครื่องมือแพทย์ ห้องชมรมMedical AI
1.4 ห้องทำโครงงานวิจัยของนักศึกษา
1.5 ปรับปรุงภูมิทัศน์ของวิทยาลัย
2. การพัฒนาห้องปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ให้ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับสากล
3. การผลักดันให้มีระบบการรับรองมาตรฐานวิชาชีพ ของสภาวิศวกรและสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
4. การผลักดันให้มีตำแหน่งงานวิศวกรชีวการแพทย์ในโรงสถานบริการการดูแลรักษาสุขภาพในภาครัฐ
5. การผลักดันในเรื่องกฎระเบียบเกี่ยวของกับงานทางด้านเครื่องมือแพทย์ในสถานประกอบการที่ให้วิศวกรชีว
การแพทย์เข้าไปมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น
|
1.คณบดี
2. รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง
3.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
|