การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนมีตำแหน่งทางวิชาการ โดยเฉพาะระดับรองศาสตราจารย์ถึง 3 คน - - -
2) หลักสูตรมีระบบการดูแลนักศึกษาด้านวิชาการเป็นอย่างดี และมีการทำกิจกรรม โครงการต่างๆเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรสู่ภายนอกอย่างต่อเนื่อง - ปรับรูปแบบโครงการด้านวิชาการให้มีความรู้น่าสนใจมากขึ้น - Lab. Chem. Chem. รศ.ดร.วรรณวิมล อารยะปราณี รศ.ดร.พนิดา ชาญเกียรติก้อง ผศ.ดร.สถาพร คำหอม

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ปรับรูปแบบการเขียนรายงานเพื่อให้เห็นภาพการดำเนินงานที่ชัดเจน การปรับปรุง และผลการปรับปรุง ตามรุปแบบ PDCA ทำความเข้าใจในรูปแบบการเขียนรายงานให้ชัดเจนมากขึ้น กิจกรรม workshop การเขียนรายงาน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
2) ส่งเสริมและหาแนวทางในการพัฒนานักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรให้มากขึ้น - พัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาต่างๆ โดยการเพิ่มทักษะการแก้ปัญหาให้มากขึ้น - สอนเสริมในรายวิชา เพื่อเฉลยการบ้าน มอบโจทย์ปัญหาเพิ่มเติม ตามความเหมาะสมของเนื้อหาวิชา - อาจารย์ที่ปรึกษา แต่ละชั้นปี ให้คำแนะนำวางแผนการเรียนกับนักศึกษาที่มีผลการเรียนไม่ดี อย่างใกล้ชิดมากขึ้น - กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active learning - ทำเป็นโครงการ/กิจกรรมของรายวิชาที่เป็นวิชา Lecture โดยเฉพาะรายวิชาเบื้องต้นที่เปิดเข้าภาควิชาฯ และวิชาที่มีการคำนวณซับซ้อน เช่น CHE 203 Principles of Chemical Engineering Calculation CHE 313 Mass Transfer Operations CHE 423 Chemical Reaction Engineering CHE 432 Process Dynamics and Control เป็นต้น - การเข้าพบ อาจารย์ที่ปรึกษาในแตะละเทอม ก่อนการลงทะเบียนเรียน - อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาต่างๆ - อาจารย์ประจำวิชา - อาจารย์ที่ปรึกษา