การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์การกีฬา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกําลังกายและสมรรถภาพทางการกีฬา

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) หลักสูตรมีคณาจารย์ผู้สอนจำนวนมากและมีความรู้ ความเชี่ยวชาญที่หลากหลายสามารถที่จะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการทำปริญยานิพนธ์ได้อย่างไม่มีข้อจำกัด • คณะฯ โดยผ่านรองคณบดีแต่ละฝ่าย พิจารณาแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน และสนับสนุนให้อาจารย์ที่ถึงลำดับการศึกษาต่อ ได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งวางแผนและผลักดันการขอทุนวิจัยของอาจารย์ให้คณะ โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน นอกจากนี้ทางคณะฯ มีการสนับสนุนให้อาจารย์แต่ล่ท่านได้พัฒนาความรู้และทักษะทางการสอนและทางวิชาชีพของตนเอง โดยกำหนดให้อาจารย์ในหลักสูตรได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี และอบรมพัฒนาทักษะความรู้เฉพาะทางสาขาวิชาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี • เพิ่มจำนวนอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา • คณะฯ โดยผ่านรองคณบดีแต่ละฝ่าย พิจารณาแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน และสนับสนุนให้อาจารย์ที่ถึงลำดับการศึกษาต่อ ได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งวางแผนและผลักดันการขอทุนวิจัยของอาจารย์ให้คณะ โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน • แผนพัฒนารายบุคคลและลำดับการลาเพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก • แผนปฏิบัติงานของรองคณบดีฝ่ายวิจัย เรื่องการขอทุนวิจัยของอาจารย์ภายในคณะ • ทางคณะฯ มีงบประมาณสนับสนุนบางส่วนให้อาจารย์ในหลักสูตรได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี และอบรมพัฒนาทักษะความรู้เฉพาะทางสาขาวิชาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี • การรับสมัครอาจารย์ประจำสาขาวิชา โดยมีวุฒิปริญญาเอก หรือส่งอาจารย์ศึกษาต่อ • แผนพัฒนารายบุคคลเกี่ยวกับการจะเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ • รองคณบดีทุกฝ่าย -ฝ่ายบริหาร -ฝ่ายวิจัย ฯ -ฝ่ายวิชาการ -ฝ่ายกิจการละพัฒนานักศึกษา • รองคณบดีฝ่ายวิจัย ฯ • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
2) หลักสูตรมีกระบวนการดูแลนักศึกษาที่ดีมากโดยใช้กิจกรรมต่างๆ คณะจะคงพัฒนากิจกรรมดีๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง -พบอาจารย์ที่ปรึกษา -รองกิจการนักศึกษา
3) มีกระบวนการพัฒนาอาจารย์ด้านการเรียนการสอนที่ดี • คณะฯ โดยผ่านรองคณบดีแต่ละฝ่าย พิจารณาแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน และสนับสนุนให้อาจารย์ที่ถึงลำดับการศึกษาต่อ ได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งวางแผนและผลักดันการขอทุนวิจัยของอาจารย์ให้คณะ โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน นอกจากนี้ทางคณะฯ มีการสนับสนุนให้อาจารย์แต่ล่ท่านได้พัฒนาความรู้และทักษะทางการสอนและทางวิชาชีพของตนเอง โดยกำหนดให้อาจารย์ในหลักสูตรได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี และอบรมพัฒนาทักษะความรู้เฉพาะทางสาขาวิชาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี • แผนพัฒนารายบุคคลและลำดับการลาเพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก • แผนปฏิบัติงานของรองคณบดีฝ่ายวิจัย เรื่องการขอทุนวิจัยของอาจารย์ภายในคณะ • ทางคณะฯ มีงบประมาณสนับสนุนบางส่วนให้อาจารย์ในหลักสูตรได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี และอบรมพัฒนาทักษะความรู้เฉพาะทางสาขาวิชาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี • รองคณบดีทุกฝ่าย -ฝ่ายบริหาร -ฝ่ายวิจัย ฯ -ฝ่ายวิชาการ -ฝ่ายกิจการละพัฒนานักศึกษา
4) อาจารย์มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์ ควรสนับสนุนให้ขอตำแหน่งทางวิชาการ • เพิ่มจำนวนอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา • คณะฯ โดยผ่านรองคณบดีแต่ละฝ่าย พิจารณาแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน และสนับสนุนให้อาจารย์ที่ถึงลำดับการศึกษาต่อ ได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งวางแผนและผลักดันการขอทุนวิจัยของอาจารย์ให้คณะ โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน • การรับสมัครอาจารย์ประจำสาขาวิชา โดยมีวุฒิปริญญาเอก หรือส่งอาจารย์ศึกษาต่อ • แผนพัฒนารายบุคคลเกี่ยวกับการจะเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ • รองคณบดีฝ่ายวิจัย ฯ • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
5) เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการด้านสุขภาพของคนในยุคปัจจุบัน ถ้าเพิ่มความร่วมมือกับสถานประกอบการ จะเป็นจุดแข็งของหลักสูตรมากขึ้น • การจัดทำมคอ.3 รายวิชา PTS181 ศาสตร์ความเป็นมนุษย์ ในหัวข้อการศึกษาดูงานในสถานประกอบการที่นักศึกษาสามารถประกอบอาชีพได้หลังจบการศึกษา จะระบุสถานประกอบการที่พานักศึกษาไปดูงาน • รายวิชา PTS181 • คณะทำงานหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ด้านสาระหลักสูตร ควรนำเสนอจุดเด่นของหลักสูตรในหัวข้อสาระสำคัญของหลักสูตร เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ เช่น มีรายวิชาที่กำลังอยู่ในกระแสนิยมปัจจุบันด้านสุขภาพ หรือ มีโครงการอบรม โครงการความร่วมมือที่น่าสนใจ เพื่อจะสามารถเลือกรับนักศึกษาได้มากขึ้น • คณะทำงานในหลักสูตร ออกแบบวางแผนการประชาสัมพันธ์จุดเด่นของหลักสูตร ผ่านวิธีการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนที่สนใจเข้าสมัคร • การประชุมของคณะทำงานในหลักสูตรเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์หลักสูตร • การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เข้าถึงนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ • ฝ่ายประชาสัมพันธ์ของคณะ • คณะทำงานหลักสูตร
2) ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร ควรทำแผน KPI การพัฒนาอาจารย์ในการศึกษาต่อ หรือ การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่ชัดเจน และควรสนับสนุนการทำวิจัยและการตีพิมพ์ผลงานวิจัย • คณะฯ โดยผ่านรองคณบดีแต่ละฝ่าย พิจารณาแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน และสนับสนุนให้อาจารย์ที่ถึงลำดับการศึกษาต่อ ได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งวางแผนและผลักดันการขอทุนวิจัยของอาจารย์ให้คณะ โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน นอกจากนี้ทางคณะฯ มีการสนับสนุนให้อาจารย์แต่ล่ท่านได้พัฒนาความรู้และทักษะทางการสอนและทางวิชาชีพของตนเอง โดยกำหนดให้อาจารย์ในหลักสูตรได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี และอบรมพัฒนาทักษะความรู้เฉพาะทางสาขาวิชาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี • แผนพัฒนารายบุคคลและลำดับการลาเพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก • แผนปฏิบัติงานของรองคณบดีฝ่ายวิจัย เรื่องการขอทุนวิจัยของอาจารย์ภายในคณะ • ทางคณะฯ มีงบประมาณสนับสนุนบางส่วนให้อาจารย์ในหลักสูตรได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี และอบรมพัฒนาทักษะความรู้เฉพาะทางสาขาวิชาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี • รองคณบดีทุกฝ่าย -ฝ่ายบริหาร -ฝ่ายวิจัย ฯ -ฝ่ายวิชาการ -ฝ่ายกิจการละพัฒนานักศึกษา
3) เพิ่มคุณวุฒิ และตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ • เพิ่มจำนวนอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา • คณะฯ โดยผ่านรองคณบดีแต่ละฝ่าย พิจารณาแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน และสนับสนุนให้อาจารย์ที่ถึงลำดับการศึกษาต่อ ได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งวางแผนและผลักดันการขอทุนวิจัยของอาจารย์ให้คณะ โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์แต่ละท่าน • การรับสมัครอาจารย์ประจำสาขาวิชา โดยมีวุฒิปริญญาเอก หรือส่งอาจารย์ศึกษาต่อ • แผนพัฒนารายบุคคลเกี่ยวกับการจะเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ • รองคณบดีฝ่ายวิจัย ฯ • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
4) ปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามผลการประเมินของนักศึกษา • ทำบันทึกแจ้งแก่สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยในการดำเนินงานปรับปรุงแก้ไขสัญญาณอินเตอร์เนต • การติดตามการวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนจากฝ่ายจัดซื้อของมหาวิทยาลัย ที่ทางคณะฯได้ดำเนินการส่งเรื่องไปแล้ว • วางแผนการจัดซื้อวัสดุการเรียนเพื่อให้เพียงพอกับจำนวนนักศึกษาในแต่ละปี • วางแผนการใช้ห้องเรียนให้สอนคล้องกับเนื้อหาวิชา • การทำบันทึกส่งออกไปยังด้วยงานที่เกี่ยวข้อง • การจัดตารางการเรียนการสอนและการใช้ห้อง • รองคณบดีฝ่ายบริหาร • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ • อาจารย์ปรtสานงานรายวิชา
5) ควรประเมินผลการเตรียมความพร้อมทางวิชาการสำหรับนักศึกษาที่เรียนสายศิลป์ และปรับปรุงแนวทางในากรดำเนินการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • จัดกิจกรรมปรับพื้นฐานให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ก่อนเข้าเรียนพื้นฐานวิชาชีพในเทอม 1/2566 ด้วยโครงการ Pre-anatomy camp และติดตามผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาก่อนและหลังจากเข้าร่วมโครง • โครงการ Pre-Anatomy • รองคณบดีฝ่ายกิจการและพัฒนานักศึกษา
6) ควรค้นหาปัญหาและอุปสรรคในการเรียนรู้ของนักศึกษา และค้นหาวิธีการดูแลช่วยเหลือ เพื่อไม่ให้นักศึกษามีผลการเรียนเป็น F,D+ และ D • ทางคณะฯ ผ่านการดำเนินงานของรองคณบดีฝ่ายวิชาการ จะมอบหมายให้แต่ละกลุ่มวิชาช่วยรับผิดชอบดูแลบริหารจัดการรายวิชาที่เปิดแต่ละปีการศึกษาผ่านอาจารย์ประสานงานรายวิชา และจัดประชุมผู้สอนเพื่อช่วยกันการออกแบบปรับปรุงเนื้อหา การออกแบบกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับนักศึกษา และสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาในการเรียนจะมีการสื่อสารส่งต่อข้อมูลกันระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ประสานงาน เพื่อติดตามนักศึกษากลุ่มนี้เป็นกรณีพิเศษ • มอบหมายและกำหนดภาระหน้าที่ของอาจารย์ประสานงานรายวิชา • แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา และการจัดทำแผนการเรียนของนักศึกษาแต่ละคน • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ • รองคณบดีฝ่ายกิจการและพัฒนานักศึกษา