# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
หลักสูตรธุรกิจระหว่างประเทศอยู่ในความต้องการของตลาดที่ทันยุคทันสมัย สอดคล้องกับการพัฒนาและการบริหารงานระหว่างประเทศ โดยเน้นด้านการตลาดดิจิทัล อีกทั้งเป็นหลักสูตรนานาชาติ ที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร น่าจะเป็นที่ต้องการของภาคธุรกิจได้เป็นอย่างดี |
พัฒนากลยุทธ์การตลาดและการสื่อสารเพื่อดึงดูดนักศึกษาใหม่ และเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์หลักสูตรโดยเน้นเรื่องของการตลาดดิจิทัลที่เป็นหลักสูตรนานาชาติ ที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร |
การจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น
(1) Open House
(2) การแข่งขันต่างๆ เช่น TNSC (Thailand Negotiation and Sales Competition) & SEASAC (Southeast Asian Sales Competition)
(3) Speech Contest และ เน้นการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
2) |
หลักสูตรมีผลประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 อยู่ในระดับดีมาก และมีค่าอัตราการมีงานทำของบัณฑิตร้อยละ 100 |
ติดตามผลลัพธ์ผู้เรียนและความก้าวหน้าของบัณฑิต |
ติดตามผลลัพธ์ผู้เรียนและความก้าวหน้าของบัณฑิตผ่านคณะและผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆ |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
3) |
หลักสูตรสามารถรับนักศึกษาใหม่ได้จำนวนมากเป็นไปตามเป้าหมาย แต่หลักสูตรควรแสดงจำนวนนักศึกษารายชั้นปีรวมทั้งนักศึกษาใหม่ตามนิยามประกันคุณภาพคือ จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน ณ วันสิ้นสุดการลงทะเบียนภาคการศึกษาที่ 2 ไม่ใช่จำนวน FTES 3 ภาคการศึกษารวมกัน แล้วทำการประเมินกระบวนการผ่านผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทั้งเชิงปริมาณ(จำนวนนักศึกษาใหม่รับเข้าตามเป้า RQF2 หรือไม่) และเชิงคุณภาพคือ ร้อยละนักศึกษาใหม่ที่มีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกำหนด ( คุณสมบัติขั้นพื้นฐานในการรับสมัคร คือมีคุณสมบัติทั่วไปและคุณวุฒิทางการศึกษาครบถ้วนตรงตามที่หลักสูตรกำหนด และมีผลการทดสอบมาตรฐานทางภาษาอังกฤษได้แก่ TOEFL (Standard score 500, IBT 61 หรือ CBT 173) หรือ IELTS (Standard score 5.5) |
ติดตามการรับนักศึกษาใหม่ให้อยู่ในจำนวนที่เหมาะสมเพื่อประสิทธิภาพในการเรียนสูงสุดทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ |
ติดตามการรับนักศึกษาใหม่ให้อยู่ในจำนวนที่เหมาะสมเพื่อประสิทธิภาพในการเรียนสูงสุดทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
หลักสูตรควรระบุปัญหาความพร้อมของนักศึกษาใหม่ และ mapping กับกิจกรรมการเตรียมความพร้อมต่าง ๆ ทำการประเมินผลในทุกด้าน เช่น ค่าร้อยละจำนวนนักศึกษาใหม่ที่มีความพร้อมด้านที่ 1 ,2 และ 3 เป็นต้น |
ประเมินผลความพร้อมของนักศึกษาใหม่และให้ร่วมกิจกรรมรต่าง ๆเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนระดับมหาวิทยาลัย |
จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาใหม่ |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
2) |
หลักสูตรควรรายงานผลการประเมินความพึงพอใจและความเห็นของนักศึกษาต่อการทำหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาหรือระบบควบคุมดูแลอื่นๆ เพื่อนำผลจากการประเมินดังกล่าวมาปรับปรุงการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี |
ประเมินผลการความพึงพอใจและความเห็นของนักศึกษาต่อการทำหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาหรือระบบควบคุมดูแลอื่นๆ |
ประเมินและควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาให้ตรงกับทักษะที่สุด |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
3) |
หลักสูตรควรทำ mapping ระหว่างทักษะต่าง ๆ กับกิจกรรมพัฒนาทักษะต่าง ๆ ตามศตวรรษที่ 21 ให้ชัดเจน(อาจจะ map กับ ylo ด้วย) กำหนดตัวชี้วัดสัมฤทธิผลการพัฒนาทักษะ เช่นค่าร้อยละนักศึกษาที่มีทักษะตามวัตถุประสงค์รายกิจกรรม เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการ |
ประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะต่าง ๆ |
ประเมินการให้คำปรึกษานักศึกษาให้สอดคล้องกับทักษะของนักศึกษาในที่ปรึกษามากที่สุด |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
4) |
หลักสูตรควรแสดงแผนพัฒนาอาจารย์เป็นรายบุคคล ตามแบบแผน IDP ของ HRD รวมทั้งแสดงแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทำการประเมินความสำเร็จตามแผนดังกล่าว |
จัดอบรมและสนับสนุนอาจารย์เพื่อสนับสนุนการเขียนบทความวิชาการ รวมถึงการแนะนำช่วยเหลือในการส่งบทความตีพิมพ์ |
การร่วมจัดสัมมนาและประชุมเชิงวิชาการระดับชาติและนานาชาติ จัดอบรมเพื่อเตรียมตัวในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
5) |
หลักสูตรควรรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชา และ สัมฤทธิผลการเรียนรู้หลักสูตร เพื่อประเมินผลการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร และเตรียมความพร้อมรับการ post audit หลักสูตร |
ติดตามการเรียนในเชิงปริมาณและคุณภาพในรายวิชา |
ติดตามการเรีนนในเชิงปริมาณและคุณภาพในรายวิชา |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
6) |
การเผยแพร่ผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ควรดำเนินการอยา่งต่อเนื่อง และควรวางแผนเผยแพร่ทุกท่าน อย่างน้อยเป็น การประชุมวิชาการ
|
จัดอบรมและสนับสนุนการเขียนบทความวิชาการ รวมถึงการช่วยเหลือในการส่งบทความตีพิมพ์ |
การร่วมจัดสัมมนาและประชุมเชิงวิชาการระดับชาติและนานาชาติ จัดอบรมเพื่อเตรียมตัวในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เช่น ร่วมงานวิชาการระดับนานาชาติ International Conference on Technology, Humanities and Management (ICTHM) 2025 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 28 - 30 มกราคม 2568 ณ Zikura International College, ประเทศมัลดีฟส์ (เว็บไซต์การประชุม https://zikura.edu.mv/icthm) |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
7) |
การพัฒนาตนเอง ในการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมสัมมนา ในหัวข้อที่ผลการประเมินพบว่า ยังขาดองค์ความรู้ในด้านนั้น ๆ |
จัดอบรมเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่แก่อาจารย์ |
จัดอบรมเพื่อเตรียมตัวในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เช่น ร่วมงานระดับนานาชาติ International Conference on Technology, Humanities and Management (ICTHM) 2025 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 28 - 30 มกราคม 2568 ณ Zikura International College, ประเทศมัลดีฟส์ (เว็บไซต์การประชุม https://zikura.edu.mv/icthm) |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |