การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะรัฐศาสตร์
หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบของหลักสูตรมีคุณสมบัติทั้งวุฒิการศึกษา และความเชี่ยวชาญสูงในสาขาวิชาการเมืองและการปกครอง ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ หรือระดับชาติอย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ หรือระดับชาติ - รองคณบดีฝ่ายวิชาการ - ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ
2) หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงาน ตามขั้นตอนที่กำหนดสำหรับประเด็นของนักศึกษา อาจารย์ หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน รวมถึงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล พัฒนาระบบการทำงานและการติดตามกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอนผิดชอบหลักสูตรวางแผนการดำเนินการร่วมกัน ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) หลักสูตรต้องเพิ่มความชัดเจนในการแสดงผลการประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา อาจารย์ กระบวนการเรียนการสอนและ การปรับปรุงหลักสูตร วางแนวทางในการประเมินการดำเนินงานของหลักสูตรที่ครอบคลุมทั้งการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล และการปรับปรุงหลักสูตร ประชุมชี้แจงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกี่ยวกับแนวทางการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล และการปรับปรุงหลักสูตร ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ
2) หลักสูตรต้องมีความชัดเจนในการให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในระบบดิจิทัล อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวางแผนในการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกร่วมกัน 1.จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวก 2.นำข้อมูลสรุปผลจากแบบสอบถาม มาวางแผนร่วมกันในการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ
3) หลักสูตรควรมีแผนงานในการเพิ่มคุณภาพงานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ในฐาน Scopus หรือระดับชาติ ในฐาน TCI1 1.แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ หรือระดับชาติ 2.จัดทำฐานข้อมูลวารสารระดับนานาชาติ ในฐาน Scopus และระดับชาติ ในฐาน TCI1 - รองคณบดีฝ่ายวิชาการ - ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ
4) หลักสูตรควรมีแผนงานและแนวทางในการสร้างคุณภาพงานวิจัยของนักศึกษา ให้สอดคล้องกับการเป็นประโยชน์ต่อการใช้งานจริงในสังคม รวมถึงการสนับสนุนให้มีการเผยแพร่ในแหล่งการเผยแพร่ที่มีคุณภาพทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ 1.วางแนวทางการให้คำปรึกษางานวิจัยสำหรับนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาดำเนินการวิจัยที่มีคุณภาพและเป็นประโยชน์ต่อสังคม 2.ส่งเสริมให้นักศึกษาตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ หรือระดับชาติ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเผยแพร่ผลงาน ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ
5) หลักสูตรต้องเพิ่มการให้ความสำคัญต่อการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละรายวิชาที่เปิดสอน รวมทั้งควรเพิ่มความชัดเจนในการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผเู้ รียนท้งั 3 ด้าน [Learner Person,Innovative Co-Creator, Active Citizen] ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร วางแนวทางในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษาในแต่ละวิชา หลักสูตรฯ ดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาเมื่อสิ้นปีการศึกษา ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ