การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) หลักสูตร ประสบความสำเร็จในด้านต่างๆ (การรับสมัครนักศึกษาเข้าเรียน /การเตรียมความนักศึกษาใหม่/การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) ควรถอดบทเรียน เพื่อจัดทำเป็น แนวการปฏิบัติที่ดี ต่อไป หลักสูตรฯ จัดทำประเมินผลและวิเคราะห์ในด้านต่างๆ ตั้งแต่การรับสมัคร การเตรียมความพร้อม และการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยใช้แบบสอบถามทั้งนักศึกษาและอาจารย์ในหลักสูตรฯ และนำผลที่ได้ไปปฏิบัติให้มีการพัฒนาที่ดียิ่งๆขึ้น 1. หลักสูตรฯ จัดทำประเมินผลและวิเคราะห์ในด้านต่างๆ โดยทำแบบสอบถามและวิเคราะห์ผลที่ได้จากแบบสอบถาม นำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯและคณาจารย์ที่ร่วมสอนเพื่อนำไปวางแผนและดำเนินการปรับปรุงการสอนและบริหารจัดการในการดูแลนักศึกษาตั้งแต่แรกเข้าจนสำเร็จการศึกษา 2. หลักสูตรฯ จัดให้มีโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ แนะนำการเรียนการสอนในระดับปริญญาโท จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแนะนำการทำโครงร่างวิทยานิพนธ์ การทำวิทยานิพนธ์และการตีพิมพ์เผยแพร่ปลงานวิชาการ ผู้อำนวยการหลักสูตร
2) คณาจารย์ในหลักสูตรมีศักยภาพด้านวิชาการสูง มีผลงานวิชาการเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง หลักสูตรฯ ส่งเสริมการทำวิจัยของคณาจารย์ในหลักสูตรฯ และสนับสนุนให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติหรือนานาชาติ หลักสูตรฯ ส่งเสริมการทำวิจัยของคณาจารย์ในหลักสูตรฯ และสนับสนุนให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติหรือนานาชาติ โดย 1. จัดโครงการสนับสนุนอุปกรณ์ สารเคมี และปรับปรุงห้องปฏิบัติการให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอ 2. จัดให้มีการตั้งกลุ่มวิจัยในกลุ่มงานวิจัยสาขาเดียวกัน เพื่อให้อาจารย์มีส่วนร่วมในงานวิจัยมากขึ้น และเป็นการสนับสนุนให้อาจารย์ใหม่สามารถเข้าร่วมทำงานวิจัยได้เร็วขึ้น 3. จัดโครงการเพื่อช่วยสนับสนุนค่าใช้จ่ายการเข้าร่วมงานประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ผลงานวิชาการของอาจารย์ในหลักสูตรฯ ผู้อำนวยการหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ออกแบบวัดและประเมินผล ก่อนและและหลังการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ด้านต่างๆ เป็นรายบุคคล จะทำให้แนวทางปฏิบัติที่ดีด้านต่างๆของหลักสูตร และมหาวิทยาลัย หลักสูตรมีแนวทางในการออกแบบวัดและประเมินผล ก่อนและหลังการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ดังต่อไปนี้ 1. หลักสูตรฯ ระบุตัวบ่งชี้ในการวัดและประเมินการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาโดยต้องพัฒนานักศึกษาตามกรอบมาตรฐานการศึกษาตามที่ระบุใน PLOs ได้แก่ PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม PLO2 สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะการแก้ไขปัญหา PLO3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาชีพ รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้และพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ PLO4 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานวิจัย PLO5 สามารถทำงานเป็นทีมและสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ PLO6 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม PLO7 มีทักษะในการวิจัยอย่างเป็นระบบ 2. จัดทำแนวทางใน การออกแบบวัดและประเมินผล ก่อนและหลังพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เป็นรายบุคคล โดยมีการประเมินดังนี้ PLO1 การเข้าเรียนตรงตามเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลาไม่ทุจริตในการสอบ ไม่ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา PLO2 แบบทดสอบก่อนเข้าเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ทุกหัวข้อ การทำรายงานหรืองานที่ได้รับมอบหมาย การสอบรวบยอด PLO3-7 การทำรายงาน การอภิปรายงานวิจัย mini-projects และนำเสนองานวิจัย/วิทยานิพนธ์ การมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาในการทำงานกลุ่ม กำหนดตัวชี้วัด PLO1 การเข้าเรียนตรงตามเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลาของนักศึกษาเป็นรายบุคคลในทุกรายวิชา ต้องเข้าเรียนไม่ต่ำกว่า 80%ของเวลาเรียนทั้งหมด PLO2 คะแนนสอบของแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนในแต่ละหัวข้อ คะแนนสอบรวบยอดต้องไม่น้อยกว่า 70% ของคะแนนรวม การทำงานที่ได้รับมอบหมายต้องอยู่ในเกณฑ์ S หรือได้คะแนนไม่น้อยกว่า 70% PLO3-7 การทำงานที่ได้รับมอบหมาย การอภิปรายงานวิจัย การทำ mini-projects และการนำเสนองานวิจัย ต้องอยู่ในเกณฑ์ S หรือได้คะแนนไม่น้อยกว่า 70% 2. หลักสูตรฯ ระบุตัวบ่งชี้ในการวัดและประเมินการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในแต่ละชั้นปีของการศึกษา เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนานักศึกษา โดยพัมนาตามกรอบที่ระบุใน YLO year learning outcome ได้แก่ YLO1 ชั้นปีที่ 1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ/ทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะกับการแก้ไขปัญหา การประเมิน ตาม PLO1-6 ตัวชี้วัดคือ ผลการศึกษาของนักศึกษาทุกคนไม่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 3.00 YLO2 ชั้นปีที่ 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาชีพ รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้และพัฒนาทักษะในการวิจัยอย่างเป็นระบบ สามารถออกแบบและวางแผนการทดลองที่เหมาะสม สามารถนำเสนอหัวข้องานวิจัยและผลงานวิทยานิพนธ์แบบปากเปล่าและตีพิมพ์ในวารสารวิชาการและรายงานวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ การประเมิน ตาม PLO3-7 ตัวชี้วัดคือ สอบเค้าโครงร่างวิทยานิพนธ์ ผ่าน สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผ่าน มีผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ 3. หลักสูตรฯ ระบุตัวบ่งชี้ในการวัดและประเมินการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการเรียนของแต่ละรายวิชา เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนานักศึกษา โดยพัมนาตามกรอบที่ระบุใน CLO course learning outcome ตามที่ระบุใน curriculum mapping เพื่อให้สอดคล้องกับ program learning outcome 1. หลักสูตรฯ จัดประชุมกรรมการฯและอาจารย์ประจำหลักสูตร หารือร่วมกันในการออกแบบจัดแนวทางการประเมินศักยภาพนักศึกษาเป็นรายบุคคล โดยต้องพัฒนานักศึกษาตามกรอบมาตรฐานการศึกษาตามที่ระบุใน PLOs, YLOs และ CLOs ดังนี้ PLO program learning outcome PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม PLO2 สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะการแก้ไขปัญหา PLO3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาชีพ รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้และพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ PLO4 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานวิจัย PLO5 สามารถทำงานเป็นทีมและสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ PLO6 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม PLO7 มีทักษะในการวิจัยอย่างเป็นระบบ โดยมีการประเมินดังนี้ PLO1 การเข้าเรียนตรงตามเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลาไม่ทุจริตในการสอบ ไม่ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา PLO2 แบบทดสอบก่อนเข้าเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ทุกหัวข้อ การทำรายงานหรืองานที่ได้รับมอบหมาย การสอบรวบยอด PLO3-7 การทำรายงาน การอภิปรายงานวิจัย mini-projects และนำเสนองานวิจัย/วิทยานิพนธ์ การมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาในการทำงานกลุ่ม ตัวชี้วัด คือ PLO1 การเข้าเรียนตรงตามเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลาของนักศึกษาเป็นรายบุคคลในทุกรายวิชา ต้องเข้าเรียนไม่ต่ำกว่า 80%ของเวลาเรียนทั้งหมด PLO2 คะแนนสอบของแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนในแต่ละหัวข้อ คะแนนสอบรวบยอดต้องไม่น้อยกว่า 70% ของคะแนนรวม การทำงานที่ได้รับมอบหมายต้องอยู่ในเกณฑ์ S หรือได้คะแนนไม่น้อยกว่า 70% PLO3-7 การทำงานที่ได้รับมอบหมาย การอภิปรายงานวิจัย การทำ mini-projects และการนำเสนองานวิจัย/วิทยานิพนธ์ ต้องอยู่ในเกณฑ์ S หรือได้คะแนนไม่น้อยกว่า 70% YLO year learning outcome YLO1 ชั้นปีที่ 1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ/ทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะกับการแก้ไขปัญหา การประเมิน ตาม PLO1-6 ตัวชี้วัดคือ ผลการศึกษารวมของนักศึกษาทุกคนไม่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 3.00 YLO2 ชั้นปีที่ 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาชีพ รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้และพัฒนาทักษะในการวิจัยอย่างเป็นระบบ สามารถออกแบบและวางแผนการทดลองที่เหมาะสม สามารถนำเสนอหัวข้องานวิจัยและผลงานวิทยานิพนธ์แบบปากเปล่าและตีพิมพ์ในวารสารวิชาการและรายงานวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ การประเมิน ตาม PLO3-7 ตัวชี้วัดคือ สอบเค้าโครงร่างวิทยานิพนธ์ ผ่าน สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผ่าน มีผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ CLO course learning outcome ตามที่ระบุใน curriculum mapping เพื่อให้สอดคล้องกับ program learning outcome 2. จัดโครงการการอบรมเชิงวิชาการ เพื่อพัฒนานักศึกษาในด้านการทำวิจัยโดยมีการทำ workshop การประเมินตนเองจากตัวนักศึกษา และคณาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อพัฒนา PLO3-7 และ YLO2 โดยมีตัวชี้วัดคือ -นักศึกษาสามารถเขียนโครงร่างงานวิจัยและสอบโครงร่างงานวิจัยผ่าน -นักศึกษาสามารถทำวิทยานิพนธ์ สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ผ่าน และตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติได้ ผู้อำนวยการหลักสูตร
2) ควรเตรียมความพร้อม เพื่อรับมือในกรณีที่มีนักศึกษาสมัครเข้าเรียนเกินค่าเป้าหมาย หลักสูตรฯเตรียมความพร้อม เพื่อรับมือในกรณีที่มีนักศึกษาเข้าเรียนเกินเป้าหมาย ในด้านสถานที่ บุคลากร และทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ 1. หลักสูตรจัดเตรียมคู่มือสำหรับนักศึกษา ในด้านแนะนำ การลงทะเบียน ข้อบังคับและปฏิบัติ สถานที่ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดสรรสำหรับเป็น co-working space ของนักศึกษา เช่น dream space และหอสมุด 2. จัดการปรับปรุงห้องเรียน ให้มีจำนวนห้องเรียนเพิ่มขึ้น อย่างน้อย 1 ห้อง 3. จัดให้ห้องพักนักศึกษามีพื้นที่ใช้งานมากขึ้น 4. จัดให้เจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรเข้ารับการอบรมในด้านการเตรียมพร้อมการรับสมัครนักศึกษา การดูแลให้ข้อมูลแก่นักศึกษา 5. ขึ้นทะเบียนอาจารย์เพิ่มจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรที่จะสามารถรับนักศึกษาเพื่อดูแลด้านงานวิจัยและการทำวิทยานิพนธ์อย่างเพียงพอและหลากหลายมากขึ้น 6. จัดให้มีความร่วมมือระหว่างสถาบัน เพื่อให้นักศึกษาสามารถทำงานวิจัย วิทยานิพนธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ผู้อำนวยการหลักสูตร
3) เตรียมความพร้อม เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ให้มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในอนาคต (ทดแทนอัตราเกษียณอายุงาน และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ) จัดการสรรหาอาจารย์ประจำหลักสูตร เพื่อเตรียมทดแทนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน 1. หลักสูตรฯ จัดประชุมกรรมการบริหารหลักสูตรฯ เพื่อสรรหาอาจารย์ประจำหลักสูตร ที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิปี 2558 สำหรับการเตรียมความพร้อมในการทำหน้าที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2. หลักสูตรฯ ส่งเรื่องการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบหลักสูตร เป็นลำดับขั้น เพื่อขึ้นทะเบียน ภายในปี 2566 ผู้อำนวยการหลักสูตร