การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา (หลักสูตรนานาชาติ)

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติเพิ่มมากขึ้นหลายเท่าจากปีการศึกษาที่ผ่านมา ควรทำการสัมภาษณ์หรือใช้แบบสอบถามเพื่อค้นหาข้อมูลสาเหตุที่เลือกเรียนในหลักสูตร และนำผลไปใช้เพื่อการวางแผนในปีการศึกษาถัดไป หรือนำไปใช้กับหลักสูตรอื่นๆ ที่เป็นทั้งนานาชาติและหลักสูตรภาษาไทย หลักสูตรได้ดำเนินการจัดทำการสำรวจและสัมภาษณ์เชิงลึกกับนักศึกษา เกี่ยวกับการคาดหวัง ความพึงพอใจ และผลที่จะได้รับในการเรียนในหลักสูตร เพื่อนำไปพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน รวมถึงการทำการประชาสัมพันธ์และการตลาดของหลักสูตร 1. การทำแบบสำรวจกับการคาดหวัง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต้่อหลักสูตร 2. การสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับการคาดหวัง ความพึงพอใจ และผลที่จะได้รับในการเรียนในหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบลักสูตร
2) อาจารย์มีคุณวุฒิปริญญาเอกมากและมีประสบการณ์ในการสอนดี ส่งเสริมอาจารย์ในการไปอบรมสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา รวมถึงการทำบทความวิจัยและวิชาการ เพื่อนำความรู้ที่ได้มีปรับใช้ในการสอนในรายวิชา 1. การอบรบสัมมนาของอาจารย์ 2. บทความวิจัยและบทความวิชาการ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3) หลักสูตรฯ มีการบริหารจัดการได้ครบถ้วน และหลักสูตรฯ มีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาอยู่เสมอ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต และตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และตลาดแรงงาน หลักสูตรฯ มีเคลือข่ายด้านการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา อันนำไปสู่การเลี่ยนเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่าง สถานประกอบการและผู้เรียน ในการศึกษาดูงาน และการฝึกงานของนักศึกษา การจัดอบรมสัมมนา และการพานักศึกษาไปแข่งขันทักษะด้านวิชาชีพ อันนำมาสู่การพัฒนาการการเรียนการสอนที่มุ่งสู่ความเป็นสากลและสอดรับกับตลาดแรงงานของไทยและต่างประเทศ 1. โครงการศึกษาดูงานในรายวิชา 2. โครงการพัฒนาบุคลิกภาพและการแต่งหน้า ProInStyle สำหรับการทำงานในอุตสาหกกรมบริการ 3. โครงการสร้างเสริมประสบการณ์วิชาชีพด้านการจัดการการบริการบาร์ เพื่อแข่งขันในแข่งขันโครงการ Pour It Up DTC Mixologist Competition 2024 1. อาจารย์ผู้สอนรายวิชาปฏิบัติ 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4) สร้างบรรยากาศความเป็นนานาชาติในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มบรรยาการในการเรียนการสอนที่เน้นความเป็นสากล รวมถึงการพานักศึกษาไปศึกษาดูงานในสถานประกอบการที่มีชื่อเสียงระดีบสากล โครงการศึกษาดูงานในรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรายวิชาปฏิบัติ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรจัดหาเพิ่มเติมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรโดยเฉพาะ ทั้งในรูปแบบ off line และ digital มหาวิทยาลัยมีการสนันสนุนให้มี co-working space รอบมหาวิทยาลัย อันเป็นปัจจัยที่สนัสนุนการเรียน รวมถึงอาจารย์ใช้วิธีสอนแบบ transformative learning ควบคู่กับการสอนโดยใช้สื่อ digital สนับสนุนให้นักศึกษาพยายามใช้สื่อในการศึกษาข้อมูลในการเรียนหารสอนพร้อมกันในห้องเรียนมากขึ้น 1. การทำกิจกรรมร่วมกันในชั้นเรียน 2. การทำรายงาน อาจารย์ผู้สอน
2) ส่งเสริมและผลักดันให้อาจารย์มีตำแหน่งทางวิชาการ สนับสนุนให้อาจารย์เห็นถึงความก้าวหน้าทางสานอาชีพ การอบรมเกี่ยวกับแนวทางการขำตำแหน่งทางวิชาการ วิทยาลัยฮอสปิตอลลิตี้