# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
อาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก ยังต่ำกว่าเป้าหมาย วิทยาลัยฯ ได้ส่งเสริมการศึกษาต่อของอาจารย์และในการรับอาจารย์ใหม่จะกำหนดคุณสมบัติให้มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก |
ประชุมคณะกรรมการประจำวิทยาลัยฯและคณะกรรมการวิชาการวิทยาลัยฯ ในการรับอาจารย์ใหม่ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกขึ้นไป |
กำหนดคุณสมบัติเกณฑ์รับอาจารย์ใหม่ที่สำเร็จการศึกษาวุฒิการศึกษาปริญญาเอก ทดแทนอาจารย์ที่ลาออก ในปีการศึกษา 2567 |
รองคณบดีฝ่ายบริหาร (รับผิดชอบด้านการรับบุคลากรใหม่) |
2) |
อาจาย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ ยังมีสัดส่วนที่ต่ำกว่าเป้าหมายมาก ได้กระตุ้นและผลักดันให้อาจารย์ทุกคนจัดทำแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ สนับสนุนการวิจัย การสร้างและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และใช้มาตรการตามระบบของมหาวิทยาลัย ได้แก่ การได้รับค่าตอบแทนตำแหน่งทางวิชาการ และการไม่ขึ้นเงินเดือนผู้ที่ไม่มีผลงานทางวิชาการ |
ประชุมคณะกรรมการประจำวิทยาลัยฯและคณะกรรมการวิชาการวิทยาลัยฯ ให้มีการติดตามแผนพัฒนาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการสำหรับบุคลากร ตำแหน่ง อาจารย์ประจำ |
จัดทำแบบสำรวจการวางแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการในต้นการศึกษา และสิ้นสุดการศึกษา |
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ |
3) |
หลักสูตรฯ ตอบสนองแผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570 ในการผลิตบัณฑิตสาขาการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่จะประกอบธุรกิจ ทำงานในโรงงานผลิตเครื่องสำอางสมุนไพร นักวิจัยในโรงงาน อาจารย์ในมหาวิทยาลัย สำหรับสาขาด้านคลินิกตอบสนองต่อผู้สนใจที่จะทำวิจัยยาสมุนไพรไทย เป็นหลักฐานการวิจัยเพื่อนำไปใช้จริงในโรงพยาบาล และเป็นการส่งเสริมการพัฒนาการแพทย์แผนไทย |
|
|
|
4) |
หลักสูตรฯ มีคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและด้านคลินิก มีผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่เป็นประจำทุกปี |
|
|
|
5) |
มีเครือข่ายความร่วมมือด้านเครื่องมือที่ทันสมัยและโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในการวิจัย โดยเฉพาะการวิเคราะห์สมุนไพรและการวิจัยการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคนิคนาโนเทคโนโลยี |
|
|
|
# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
หลักสูตรยังต้องการอาจารย์ประจำผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเพิ่ม เพื่อช่วยดูแล กำกับการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาเพื่อให้จบการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด ทางหลักสูตรฯ ได้วางแผนการสนับสนุนให้อาจารย์ไปศึกษาในระดับปริญญาเอก ทางด้านการเป็นการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร |
|
|
|
2) |
วิเคราะห์ปัญหาเพื่อดำเนินการอย่างเร่งด่วนเกี่ยวกับการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษา |
ดำเนินการติดตามนักศึกษาที่อยู่ในสถานะสิ้นสภาพ เพื่อดำเนินการสอบถามและแจ้งรายละเอียดหากนักศึกษาเลือกที่จะไม่ศึกษาต่อหรือสิ้นสภาพนักศึกษา พร้อมทั้งสอบถามเหตุผลในการไม่ศึกษาต่อ |
|
หัวหน้าหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตร |
3) |
ส่งเสริมให้เกิดการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการของนักศึกษา/ผู้สำเร็จการศึกษาในวารวารวิชาการระดับชาติ (TCI) |
- |
Oriental Medicine and Science Conference 2024 |
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ |
4) |
ควรวางแผนให้มีการติดตามความก้าวหน้าการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดยจัดทำแบบสำรวจและการวางแผนงาน ในต้นปีการศึกษา และสิ้นสุดการศึกษาโดยให้อาจารย์ทุกท่านจัดทำแผนพัฒนาตนเอง เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ โดยใช้แผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ของมหาวิทยาลัย เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรแต่ละคน |
|
|
|
5) |
หลักสูตรต้องการการสนับสนุนทางด้านครุภัณฑ์ที่มีราคาปานกลางถึงสูง เพื่อมีประจำไว้ในห้องปฏิบัติการ เช่น เครื่อง Super-critical fluid extractor, Freez Dryer เครื่อง Hot air oven และเครื่อง Rotary Evaporator |
|
|
|