# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คุณวุฒิตรง มีความเชี่ยวชาญมีประสบการณ์สูง และมีผลงานโดดเด่น |
หลักสูตร จัดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้เข้าสู่ตำเเหน่งทางวิชาการโดยให้ระบุในเเผนพัฒนาตนเองของคณะ เเละรายงานความคืบหน้าในการประชุมของหลักสูตรทุกๆ 3 เดือน |
การประชุมหลักของสูตรสาขาเเฟชั่นดีไซน์ |
หัวหน้าหลักสูตร สาขาเเฟชั่นดีไซน์ |
2) |
มีผลงานวิชาการเผยแพร่สู่สาธารณะบนแพลตฟอร์มที่น่าเชื่อถือทั้งบนเวทีระดับชาติและระดับระหว่างประเทศ |
หลักสูตร ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเเละอาจารย์ประจำ เผยเเพร่ผลงานสร้างสรรค์ทั้งในเวทีระดับชาติเเละนานาชาติ |
International Arts and Design Symposium "Work in Progress" |
อาจารย์ในสาขาเเฟชั่นดีไซน์ |
3) |
หลักสูตรปรับประยุกต์เข้ากับยุคสมัยของการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยี และในรายวิชาประสานความร่วมมือกับชุมชนในเรียนการสอนเพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามยุทธศาสตร์ชาติ |
หลักสูตร กำหนดให้มีรายวิชาในหลักสูตร มีการสร้างความร่วมมือกับผู้ประกอบการในชุมชน 2 ชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ |
โครงการ “Creative Young Designers " โครงการผ้าขาวม้าท้องถิ่นหัตถศิลป์ไทย โดย eisa, บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) |
อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์ เเละอาจารย์ประจำหลักสูตร |
4) |
หลักสูตร มีกิจกรรมและโครงการพัฒนานักศึกษาจำนวนมากทั้งในและต่างประเทศ โดยกิจกรรมเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาและเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมด้วย |
หลักสูตร กำหนดให้รายวิชาในหลักสูตร มีการเข้าร่วมอบรมเชิงปฎิบัตการ ร่วมกับ Buka Gakuen University ณ ประเทศญี่ปุ่น |
Collaborative Project between Bunka Gakuen University and Rangsit University (RSU) “Let Study Fashion Together” (2025) |
ดร.ชไมพร มิตินันท์วงศ์ |
# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
เพิ่มคุณวุฒิอาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ประจำหลักสูตร |
หลักสูตร กำหนดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบเเละอาจารย์ประจำ มีเเผนในการศึกษาต่อเเละขอตำเเหน่งวิชาการ ปี 2567-2571 ดังนี้
คุณวุฒิ ระดับ ป.เอก
- ปี 2571 จำนวน 1 ท่าน อาจารย์ไกรกช เสรีดีเลิศ
การขอตำเเหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์
- ปี 2567 - 2568 จำนวน 2 ท่าน อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์ เเละอาจารย์ลลิตา สีมันตร (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
- ปี 2569 จำนวน 1 ท่าน อาจารย์ ดร.ชไมพร มิตินันท์วงศ์
- ปี 2570 จำนวน 1 ท่าน อาจารย์พชร รัตนคุปต์
การขอตำเเหน่ง รองศาสตราจารย์
- ปี 2568 จำนวน 1 ท่าน ผศ. สุปรียา สุธาธรรมธารีกุล
|
การประชุมสาขาเเฟชั่นดีไซน์
การประชุมเชิงวิชาการนานาชาติ Symposium |
อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์
อาจารย์ลลิตา สีมันตร
ผศ. สุปรียา สุธาธรรมธารีกุล
อาจารย์พชร รัตนคุปต์
อาจารย์ไกรกช เสรีดีเลิส
อาจารย์ ดร.ชไมพร มิตินันท์วงศ์ |
2) |
ควรเพิ่มแผนในการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการให้ชัดเจน รวมทั้งกำกับติดตามผล และจัดทำแผนเร่งรัดให้อาจารย์ขอผลงานวิชาการเพิ่มจาก 1 คนที่มีอยู่เดิม ให้ได้อย่างน้อยอีก 1 คน |
หลักสูตร กำหนดให้จัดทำเเผน 5 ปี (ปี 2567-2571) เเละกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งในหัวข้อการประเมินผลงานประจำปีของบุคคลากร เพื่อให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบเเละอาจารย์ประจำ รับทราบเเละเตรียมตัวในขอตำเเหน่งวิชาการ
การขอตำเเหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์
- ปี 2567- 2568 จำนวน 2 ท่าน อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์ เเละอาจารย์ลลิตา สีมันตร
- ปี 2569 จำนวน 1 ท่าน อาจารย์ ดร.ชไมพร มิตินันท์วงศ์
- ปี 2570 จำนวน 1 ท่าน อาจารย์ พชร รัตนคุปต์
- ปี 2571 จำนวน 1 ท่าน อาจารย์ไกรกช เสรีดีเลิศ
การขอตำเเหน่ง รองศาสตราจารย์
- ปี 2568 ผศ.สุปรียา สุธรรรมธารีกุล |
การประเมินผลงานประจำปีของบุคคลากร วิทยาลัยการออกเเบบ
การประชุมของสาขาเเฟชั่นดีไซน์
โครงการประชุมเชิงวิชาการนานาชาติ Symposium |
อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์
อาจารย์ลลิตา สีมันตร
อาจารย์ ดร.ชไมพร มิตินันท์วงศ์
อาจารย์ พชร รัตนคุปต์
อาจารย์ไกรกช เสรีดีเลิศ
ผศ.สุปรียา สุธรรรมธารีกุล |
3) |
อาจารย์ต้องยกระดับผลงานวิชาการให้สามารถตีพิมพ์ในรูปแบบตำราทางวิชาการให้ได้อย่างน้อย 1 เรื่อง ในปีการศึกษา 2567-2568 |
หลักสูตร ส่งเสริมให้อาจารย์นำผลงานสร้างสรรค์จาก Symposium มาต่อยอดการเขียนบทความเเละตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ |
โครงการประชุมวิชาการนานาชาติ Symposium เเละวารสารวิชาการในประเทศเเละต่างประเทศ |
อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์
อาจารย์ลลิตา สีมันตร
อาจารย์พชร รัตนคุปต์
อาจารย์ไกรกช เสรีดีเลิศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุปรียา สุธรรมธารีกุล
ดร. ชไมพร มิตินันท์วงศ์ |