การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตร และเทคโนโลยีอาหาร
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) อาจารย์มีความสามารถทางวิชาการในระดับสูงสามารถขอทุนวิจัยและผลิตผลงานทางวิชาการรูปแบบต่างๆ ได้จำนวนมาก สามารถผลักดันให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการในระดับสูงขึ้นได้ พยายามปิดจบโครงการด้วย TRL 6-7 เพื่อให้สามารถขอทุนระดับเกินห้าแสนบาท/โครงการได้ กลุ่มงานวิจัยแพลนต์เบส และการใช้ประโยชน์จากข้าว รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล
2) หลักสูตรมีระบบและกลไกและการดำเนินงานที่ดีสามารถผลักดันให้นักศึกษามีผลงานทางวิชาการได้หลายชิ้นและเป็นผลงานที่มีคุณภาพอยู่ในระดับสูง รวมทั้งมีการเข้าร่วมการประกวดต่างๆ หลายรายการจนได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติ ผลักดันอาจารย์ในหลักสูตรให้ขอทุนภายนอก โดยเฉพาะ PMU ที่ผ่านระบบ nriis โดยสลับกันเป็นหัวหน้าโครงการและนักวิจัยร่วม เพราะด้วยวิธีการนี้ อาจารย์1 คน จะสามารถรับงานวิจัยได้ไม่ต่ำกว่า 6 โครงการ/ปี ทุนวิจัย สวก. ทุนวิจัย วช. ทุนวิจัย บพข. ทุนวิจัย ววน. รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล
3) สาขาวิชามีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเพียงพอ นำเงินทุนวิจัยในส่วนค่าตอบแทนนักวิจัย มาซื้อเครื่องมือวิจัย เสาะหาความร่วมมือจากพันธมิตรที่มีความพร้อมของ facility อุปกรณ์และเครื่องมือที่สาขาไม่มี งานวิจัยที่เสนอขอทุนภายนอกในปี2567 2 โครงการของ รศ.ยุพกนิษฐ์ (หัวหน้าโครงการ) และ 2 โครงการของ ผศ.กฤตพร (ผู้ร่วมโครงการ) รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล
4) ยังไม่พบปัญหา สร้างเครือข่ายวิจัยเข้ากับหน่วยงาน วว เพื่อให้สามารถนำผู้ประกอบการเข้าใช้เครื่องมือที่หลักสูตรไม่มี ซึ่งปีการศึกษานี้ มีโครงการดำเนินร่วมกัน อย่างน้อยหนึ่งโครงการ โครงการ I2B ทุนวิจัยจาก วช ปu 2567 ใช้เครื่อง HPP ที่วว รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล
5)
6)
7)

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การประชาสัมพันธ์หลักสูตรโดยกำหนดจุดเด่นและจุดเน้นของหลักสูตรให้ชัดเจน และเน้นความร่วมมือกับหลักสูตรปริญญาตรีของวิทยาลัยเพื่อนำนักศึกษาเข้าสู่โครงการ 4+1 1. สอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ 2. พยายามทำความคุ้นเคยกับนักศึกษาให้มากขึ้น 3. ชักชวนให้นักศึกษาเรียนต่อ 4. ประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้นักศึกษาเข้าใจ การสอนในรายวิชา AIN331 และ AIL331 ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
2) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องดำเนินการขอตำแหน่งวิชาการ เมื่อมีผลงานวิชาการครบและมีคุณภาพเพียงพอ ติดตาม แก้ไขเอกสารการขอตำแหน่งทางวิชาการ ติดตามผลการดำเนินการขอตำแหน่งทางวิชาการ ดร.กฤตพร รำจวนเกียรติ
3) จำนวนนักศึกษามีจำนวนน้อยลง ต้องเร่งการประชาสัมพันธ์โครงการ ต่อเนื่องปริญาตรี ควบ ปริญาโท 1. สอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ 2. พยายามทำความคุ้นเคยกับนักศึกษาให้มากขึ้น 3. ชักชวนให้นักศึกษาเรียนต่อ 4. ประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้นักศึกษาเข้าใจ 5. ปรับปรุงหลักสูตรให้สามารถรองรับโครงการต่อเนื่องปริญาตรีควบปริญาโทได้อย่างแท้จริง ปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ พ.ศ.2568 ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4) ให้มีอัตราการสำเร็จการศึกษาที่อยู่ภายในสองปี เพื่อเป็นจุดขายของหลักสูตร ให้นักศึกษา (โครงการ 4+1) เริ่มทำวิทยานิพนธ์ตั้งแต่เรียนปริญญาตรี วิชาโปรเจคของนักศึกษา ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
5) หลักสูตรควรมีความร่วมมือกับหลักสูตรระดับปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร์ให้เพิ่มมากขึ้น ออกแบบงานวิจัยที่สามารถเชื่อมโยงกับความชำนาญของคณะที่เกี่ยวข้อง อาทิ การทดสอบผลจากการบริโภคอาหารที่วิจัยและพัฒนา ACEIต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความดันเลือดในผู้ทดสอบ ร่วมกับคณะพยาลและคณะแพทยศาสตร์ หรือ การศึกษาประสิทธิภาพย่อยสลายของจุลินทรีย์เพื่อลดปริมาณสารอินทรย์ในแหล่งน้ำ ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาตร์ หรือ โครงการศึกษาแอโรมาโพรไฟล์ในผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่อ ดื่มหมักจากข้าวด้วยหัวเชื้อบริสุทธิ์ร่วมกับนักวิจัยของศูนย์เครื่องมือกลาง มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นต้น เป็นต้น ซึ่งจะเชื่อมโยงกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ในอนาคต โครงการที่มีแผนจะขอทุนภายใน จากมหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 3 โครงการ ประกอบด้วย โครงการวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมยับยั้งเอนไซม์ ACE โครงการวิจัยประสิทธิภาพย่อยสลายของจุลินทรีย์เพื่อลดปริมาณสารอินทรีย์ในแหล่งน้ำ โครงการศึกษาแอโรมาโพรไฟล์ในผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มหมักจากข้าวด้วยหัวเชื้อบริสุทธิ์ร่ รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล