# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
อาจารย์มีการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้นและมีแผนการพัฒนาตนเองที่ชัดเจน |
นำความรู้ที่ได้จากการทำงานวิจัยไปเผยแพร่เป็นผลงาทางวิชาการหรือเขียนเป็นหนังสือเพื่อประกอบการยื่นขอตำแหน่งทงวิชาการ |
1. ผลของการใช้สารแบคเทอริโอซินร่วมกับสารสกัดจากพืชที่มีศักยภาพในการยืดอายุการเก็บรักษาลูกชิ้นหมู และการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรของจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ในช่วงการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำโดยใช้เทคนิค Microbial community
|
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
2) |
อาจารย์ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากภายนอกจำนวนมากและสามารถผลิตผลงานทางวิชาการเผยแพร่ในระดับสูงได้หลายชิ้น เป็นส่วนสำคัญให้การพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนการสอนและการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา |
1. รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล ได้รับทุนสนับสนุนจาก สวก. จำนวน 2 โครงการ คือ
[1] เรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไข่จากพืชในเชิงการค้า” สัญญาเลขที่ CRP6605032100 จำนวนทุน 992,860 บาท และ
[2] เรื่อง “นวัตกรรมไข่ต้มจากพืชเก็บได้นานพร้อมรับประทาน” สัญญาเลขที่ CRP6605031990 จำนวนทุน 709,500 บาท และ
[3] ทุนสนับสนุนจาก วช. จำนวน 1 โครงการ คือเรื่อง “การผลิตไข่ต้มจากพืชไร้สารก่อภูมิแพ้สะดวกเก็บสะดวกกิน” สัญญาเลขที่ CRP6605032100 จำนวนทุน 493,000 บาท สามารถผลิตผลงานสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการเผยแพร่ผ่านสื่อ ดังต่อไปนี้
[1] สื่อออนไลน์ BNN the Bangkok News Network (24 ม.ค.68 “ไบโอเอ้ก ไข่ต้มจากพืช” ในงานวันนักประดิษฐ์ 2568 - สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 2-6 ก.พ. 68 ไบเทค และ
[2] ข่าวสามมิติ ช่อง 3 25 มค 2568 https://www.facebook.com/share/v/18KkepwQdU/ และขยายผลสู่การพัฒนาความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาโดยการใช้เป็นหัวข้อปริญญานิพนธ์ ปีการศึกษา 2568 ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ชื่อนางสาว วิสาโครามี ซิน 1 เรื่อง ชื่อโครงการ “Shelf-life extension of plant-based fried egg by high pressure processing” และนำไปสู่การขยายผลสู่การใช้เป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ในปีการศึกษา 2569 ตามความประสงค์ของนักศึกษาที่ต้องการทำงานวิจัยต่อเนื่องในระดับสูง
สำหรับการขยายผลสู่การพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนการสอน รศ.ยุพกนิษฐ์ ได้นำหัวข้อไข่จากพืช มาสอนในรายวิชาดังต่อไปนี้
[1] วิชา FTH171 ทิศทางของอาหารและการบริโภคในอนาคต ในหัวข้อ “ผลิตภัณฑ์ไข่จากพืช ทิศทางและการบริโภคในอนาคต”
2. รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล ได้รับทุนสนับสนุนจาก วช. อีก 1 โครงการ คือ
[4] โครงการวิจัยเรื่อง “การผลิตผงมอลต์สกัดจากข้าวไทยทางการค้า” สัญญาเลขที่ N23H670025 จำนวนทุน 1,395,600 บาท สามารถขยายผลสู่การพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนการสอน โดย รศ.ยุพกนิษฐ์ ได้นำหัวข้อมอลต์ข้าวไทย มาสอนในรายวิชาต่อไปนี้
รายวิชาที่สอง [2] วิชา FTH383 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จากข้าว ในหัวข้อบู “มอลต์ข้าวไทยและสารสกัดมูลค่าสูง”
และนำหัวข้อการหมักอาหารและเครื่องดื่มจากมอลต์ข้าวไทย มาสอนในรายวิชาที่สามคือ [3] วิชา FTH 342 เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร ในหัวข้อ “การผลิตเบียร์จากมอลต์ข้าวไทย” และ “การผลิตสาโทจากมอลต์ข้าวไทย” รวมถึงหัวข้อ “การผลิตวินีการ์จากมอลต์ข้าวไทย”
และนำผลงานผลิตภัณฑ์สาโท เบียร์ วีนีการ์ ไปใช้สอนในรายวิชาที่สี่ [4] FTH 101 อาหารเพื่อการดำรงชีวิต หัวข้อจุลชีวิวิยาของสาโทและข้าวงอก และหัวข้อประโยชน์จากข้าว
3. ได้นำผลงานจากการทำวิจัยด้านการหมักเครื่องดื่มที่มีและไม่มีแอลกอฮอล์ ไปจัดแสดงและจำหน่ายในบูธหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ งานวันเกษตรอาหาร ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 14-16 มกราคม 2568 |
1. รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล ได้รับทุนสนับสนุนจาก สวก. จำนวน 2 โครงการ คือ
[1] เรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไข่จากพืชในเชิงการค้า” สัญญาเลขที่ CRP6605032100 จำนวนทุน 992,860 บาท และ
[2] เรื่อง “นวัตกรรมไข่ต้มจากพืชเก็บได้นานพร้อมรับประทาน” สัญญาเลขที่ CRP6605031990 จำนวนทุน 709,500 บาท และ
[3] ทุนสนับสนุนจาก วช. จำนวน 1 โครงการ คือเรื่อง “การผลิตไข่ต้มจากพืชไร้สารก่อภูมิแพ้สะดวกเก็บสะดวกกิน” สัญญาเลขที่ CRP6605032100 จำนวนทุน 493,000 บาท สามารถผลิตผลงานสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการเผยแพร่ผ่านสื่อ ดังต่อไปนี้
[1] สื่อออนไลน์ BNN the Bangkok News Network (24 ม.ค.68 “ไบโอเอ้ก ไข่ต้มจากพืช” ในงานวันนักประดิษฐ์ 2568 - สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 2-6 ก.พ. 68 ไบเทค และ
[2] ข่าวสามมิติ ช่อง 3 25 มค 2568 https://www.facebook.com/share/v/18KkepwQdU/ และขยายผลสู่การพัฒนาความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาโดยการใช้เป็นหัวข้อปริญญานิพนธ์ ปีการศึกษา 2568 ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ชื่อนางสาว วิสาโครามี ซิน 1 เรื่อง ชื่อโครงการ “Shelf-life extension of plant-based fried egg by high pressure processing” และนำไปสู่การขยายผลสู่การใช้เป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ในปีการศึกษา 2569 ตามความประสงค์ของนักศึกษาที่ต้องการทำงานวิจัยต่อเนื่องในระดับสูง
สำหรับการขยายผลสู่การพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนการสอน รศ.ยุพกนิษฐ์ ได้นำหัวข้อไข่จากพืช มาสอนในรายวิชาดังต่อไปนี้
[1] วิชา FTH171 ทิศทางของอาหารและการบริโภคในอนาคต ในหัวข้อ “ผลิตภัณฑ์ไข่จากพืช ทิศทางและการบริโภคในอนาคต”
2. รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล ได้รับทุนสนับสนุนจาก วช. อีก 1 โครงการ คือ
[4] โครงการวิจัยเรื่อง “การผลิตผงมอลต์สกัดจากข้าวไทยทางการค้า” สัญญาเลขที่ N23H670025 จำนวนทุน 1,395,600 บาท สามารถขยายผลสู่การพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนการสอน โดย รศ.ยุพกนิษฐ์ ได้นำหัวข้อมอลต์ข้าวไทย มาสอนในรายวิชาต่อไปนี้
รายวิชาที่สอง [2] วิชา FTH383 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จากข้าว ในหัวข้อบู “มอลต์ข้าวไทยและสารสกัดมูลค่าสูง”
และนำหัวข้อการหมักอาหารและเครื่องดื่มจากมอลต์ข้าวไทย มาสอนในรายวิชาที่สามคือ [3] วิชา FTH 342 เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร ในหัวข้อ “การผลิตเบียร์จากมอลต์ข้าวไทย” และ “การผลิตสาโทจากมอลต์ข้าวไทย” รวมถึงหัวข้อ “การผลิตวินีการ์จากมอลต์ข้าวไทย”
และนำผลงานผลิตภัณฑ์สาโท เบียร์ วีนีการ์ ไปใช้สอนในรายวิชาที่สี่ [4] FTH 101 อาหารเพื่อการดำรงชีวิต หัวข้อจุลชีวิวิยาของสาโทและข้าวงอก และหัวข้อประโยชน์จากข้าว
3. ได้นำผลงานจากการทำวิจัยด้านการหมักเครื่องดื่มที่มีและไม่มีแอลกอฮอล์ ไปจัดแสดงและจำหน่ายในบูธหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ งานวันเกษตรอาหาร ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 14-16 มกราคม 2568
|
รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล |
3) |
หลักสูตรมีระบบและกลไกและการดำเนินงานที่ดีสามารถผลักดันให้นักศึกษามีผลงานทาง วิชาการได้หลายชิ้นและเป็นผลงานที่มีคุณภาพอยู่ในระดับสูง รวมทั้งมีการเข้าร่วมการประกวดต่างๆ หลายรายการจนได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติ |
ส่งเสริมให้นักศึกษาโครงการตรีต่อเนื่องโทเริ่มเขียนผลงานวิจัยตั้งแต่ระดับชั้นปริญญาตรี รวมทั้งการฝึกเขียนในรายวิชาสัมมนา |
1. วิชาปัญหาพิเศษของนักศีกษาโครงการตรีต่อเนื่องโท
2. วิชาสัมมนา 1 และ 2 |
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
# |
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา |
แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา |
โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ |
ผู้รับผิดชอบ |
1) |
มีนักศึกษาเข้ามาในหลักสูตรต่ำกว่าเป้าหมาย จึงควรมีการดำเนินการโดยมีแผนงานอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมให้เกิดผลในโครงการ 4+1 ที่จะนำนักศึกษาจากหลักสูตรปริญญาตรีทั้ง 3 หลักสูตรของวิทยาลัยฯ เข้าสู่การศึกษาต่อในหลักสูตรต่อไป โดยระบุอย่างละเอียดว่าตั้งแต่นักศึกษาเข้าปี 1 จนถึงปี 4 ในแต่ละภาคการศึกษาและแต่ละหลักสูตรปริญญาตรีจะมีการดำเนินการอย่างไร เพื่อการประชาสัมพันธ์และการหานักศึกษามาเข้าร่วมโครงการ และดำเนินโครงการจนสำเร็จได้ โดยมีการติดตามความก้าวหน้าทุกภาคการศึกษาอย่างใกล้ชิด |
1.ประชาสัมพันธ์หลักสูตรปริญญาโทโดยเริ่มตั้งแต่งานปฐมนิเทศนักศึกษาปี 1
2.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าไปมีส่วนร่วมในงานโปรเจ็คจบหรือปัญหาพิเศษของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 เพื่อชักชวนเรียนต่อในระดับปริญญาโทต่อไป |
1. งานปฐมนิเทศนักศึกษาปี 1
2. อาจารย์ที่ปรึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ |
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
2) |
หลักสูตรมีรายรับจำกัดทำให้ไม่สามารถพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ได้เท่าที่ควรจะเป็น จึงควรดำเนินการเพื่อให้ได้รายรับที่เพิ่มขึ้นหรือลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นให้สำเร็จ โดยมีการจัดทำแผนให้ชัดเจนในแต่ละปีการศึกษา เช่น การให้บริการวิชาการแบบมีรายรับ การดำเนินการเชิงพาณิชย์ |
รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล ร่วมกับ ผศ. ธฤศ อภิสิทธิวงศ์ พัฒนาเครื่องดื่มโปรตีนใสพลัสวิตามินโดยใช้ผงโปรตีนข้าวละลายใสที่สกัดได้เองจากงานวิจัยของ รศ.ยุพกนิษฐ์ เพื่อจำหน่ายเพื่อหารายได้เข้าหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ ในภาคเรียนที่ 2 / 2567 โดยใช้เงินลงทุนส่วนตัว |
ในปีการศึกษา 2567 ยังไม่ได้ตั้งเป็นโครงการ เพราะต้องการศึกษาความเป็นไปได้ในเบื้องต้นก่อน
ผู้รับผิดชอบ
|
รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล ร่วมกับ ผศ. ธฤต อภิสิทธิวงศ์ |
3) |
การประชาสัมพันธ์หลักสูตรโดยกำหนดจุดเด่นและจุดเน้นของหลักสูตรในเรื่องคุณภาพอาจารย์ งานวิจัย โดยประชาสัมพันธ์ใน social media ที่หลากหลาย |
มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรในรูปแบบของงานวิจัย การออกบูธ สื่อประชาสัมพันธ์ใน Social media |
1. งานวันเกษตร-อาหารรังสิต ครั้งที่ 9
2. เพจ Facebook วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอาหารและเพจ Facebook หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ ม.รังสิต
3. Instagram หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ ม.รังสิต
|
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
4) |
ทำความร่วมมือกับผู้ประกอบการในด้านงานวิจัย และส่งเสริมการศึกษาต่อของพนักงาน |
ปัจจุบัน บทบาทของผู้ประกอบการคือการทดสอบทางประสาทสัมผัส เพื่อให้ได้ Feed back มาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้ตรงใจ และได้มอบหมายงานทดลองตลาดให้ผู้ประกอบการรับผิดชอบออกค่าใช้จ่ายซื้อพื้นที่บูธ และนำสินค้าจากงานวิจัยไปจัดแสดงและจำหน่าย และในอนาคตวางแผนที่จะให้ผู้ประกอบการเข่าร่วมในขั้นตอนการทำวิจัยมากขึ้น |
1] ทำความร่วมมือกับผู้ประกอบการ บจก.ไบโอมายด์ ในงานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไข่จากพืชในเชิงการค้า” สัญญาเลขที่ CRP6605032100 จำนวนทุน 992,860 บาท และเรื่อง “นวัตกรรมไข่ต้มจากพืชเก็บได้นานพร้อมรับประทาน” สัญญาเลขที่ CRP6605031990 จำนวนทุน 709,500 บาท และผู้ประกอบออกเงินค่าบูธและส่งบุคลากรมาช่วยร่วมข้อมูลการตลาดในงานสมุนไพร, งาน Thaifex-Anuga ,งาน อว.แฟร์ ร่วมกับนักวิจัย
2] ทำความร่วมมือกับผู้ประกอบการ บจก.อาร์เอสยู อินโนเวชั่น ในด้านงานวิจัยเรื่อง “การผลิตผงมอลต์สกัดจากข้าวไทยทางการค้า” สัญญาเลขที่ N23H670025 จำนวนทุน 1,395,600 บาท และผู้ประกอบการส่งตัวแทนเข้าร่วมนำเสนอในการประชุมรายงานความก้าวหน้าพร้อมกับหัวหน้าโครงการต่อคณะกรรมการติดตามทุนของ วช.
|
รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล |