การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) วิทยาลัยฯ มีคณาจารย์ที่มีตำแหน่งวิชาการจำนวนมาก 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการจากแผนพัฒนาบุคลากรทั้งระยะสั้นและระยาวเพื่อเสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน 2.สำหรับผู้ที่มีตำแหน่งทางวิชาการอยู่แล้วจะทำการกระตุ้นและส่งเสริมให้พัฒนาตำแหน่งวิชาการที่สูงขึ้น 3.สำหรับผู้ที่ยังไม่มีตำแหน่งทางวิชาการจะทำการกระตุ้นและส่งเสริมให้พัฒนาผลงานในทุกมิติเพื่อให้ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ 1.แผนพัฒนาบุคลากรในระยะ 5 ปีและระยะ 1 ปีและแผนพัฒนารายบุคคล (IPD) 2.การประเมินและทบทวนแผนในข้อ 1 เป็นระยะๆ 3.กิจกรรมประชุมและสัมมนาประจำเดือนและประจำปี 1.คณบดี 2.รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศและประกันคุณภาพ 3.อาจารย์ประจำที่เกี่ยวข้อง
2) วิทยาลัยฯ มีการดำเนินการให้บริการนักศึกษา และจัดกิจกรรมนักศึกษาี่ครอบคลุมครบถ้วนในทุกด้าน มีจำนวนกิจกรรมมาก จัดต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา เข้าถึงกลุ่มนักศึกษาได้ทุกระดับชั้นปี มีการประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 1.ดำเนินการประเมินแผนงานและประเมินกระบวนการรวมทั้งประเมินผลของการดำเนินงานในทุกกิจกรรมพร้อมทั้งพิจารณาทบทวนถึง Scenario ของโลกในปัจจุบันและอนาคตข้างหน้าเพื่อหาทิศทางและแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก 2.ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงจุดอ่อนและเสริมจุดแข็งจากผลการประเมินในข้อที่ 1 3.เน้นทิศทางการปฏิบัติภารกิจของอาจารย์ในแบบ Synergy ภารกิจในทุกมิติเข้าด้วยกัน 4.ค่อยๆปรับปรุงพัฒนากิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่รองรับและสอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกเพิ่มขึ้น 1.แผนพัฒนานักศึกษา 2.การดำเนินกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่สอดคล้องและเป็นไปตามแผนในข้อที่1 3.มีกระบวนการ PDCA/PDSA เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามแผน 4.กิจกรรมประชุมสัมมนาประจำเดือนและประจำปี 1.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2.ประธานสโมสรนักศึกษา 3.ประธานชมรมที่เกี่ยวข้อง 4.ประธานชั้นปี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) สัดส่วนอาจารย์ประจำต่อนักศึกษาเกินเกณฑ์มาตรฐาน วิทยาลัยฯ ควรประเมินและจัดทำแผนกำลังคนเพื่อให้อัตราส่วนดังกล่าวเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวการณ์ปัจจุบันที่ศาสตร์ด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์เป็นที่สนใจ และบัณฑิตเป็นที่ต้องการของภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม และการบริการทางการแพทย์ ส่งผลให้มีผู้สนใจเข้าเรียนในหลักสูตรเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอัตราส่วนของจำนวนอาจารย์ประจำต่อจำนวนนักศึกษาที่มีทิศทางที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน FTES 3.ดำเนินการตามแผน โครงการรับอาจารย์ประจำเพิ่มขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน FTES คณบดี

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) วิทยาลัยฯ มีผลงานวิชาการ ที่มีคุณภาพสูง (ค่าถ่วงน้ำหนักมาก) จำนวนมาก 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ ในด้านการพัฒนาผลงานทางวิชการที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการพัฒนาผลงานทางวิชการในทุกมิติที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศ 3.เน้นทิศทางการปฏิบัติภารกิจของอาจารย์ในแบบ Synergy ภารกิจในทุกมิติเข้าด้วยกัน 4.ดำเนินการตามแผน 1.การกระตุ้นและส่งเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการในทุกมิติที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศของอาจารย์ 2.การจัดประชุมวิชาการและแสดงผลงานวิจัยและนวัตกรรมประจำปี 3..กิจกรรมประชุมสัมมนาประจำเดือนและประจำปี 1.คณบดี 2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง 3.หัวหน้าห้องวิจัย และหัวหน้า/ผู้อำนวยการหลักสูตร
2) วิทยาลัยฯ ได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายนอกและภายใน 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ ในด้านการขอทุนสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายนอกและภายใน 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงจุดอ่อนของแผนการดำเนินงานด้านทุนสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายนอกและภายใน 3.เน้นทิศทางการปฏิบัติภารกิจของอาจารย์ในแบบ Synergy ภารกิจในทุกมิติเข้าด้วยกัน 4.ดำเนินการตามแผนโดยเน้นในด้านทุนสนับสนุนการวิจัยจากภายนอก 1.กิจกรรมการสร้างและกระชับความสัมพันธ์กับเครือข่ายพันธมิตรกับแหล่งทุนวิจัยจากภายนอก 2.กิจกรรมการสร้างภาพลักษณ์และชื่อเสียงทางด้านผลงานวิจัยและพัฒนาเพื่อให้สังคมภายนอกได้รับทราบมากขึ้น 3.กระตุ้นและส่งเสริมให้อาจารย์ขอทุนวิจัยจากภายนอกและภายในเพิ่มมากขึ้น 4..กิจกรรมประชุมสัมมนาประจำเดือนและประจำปี 1.คณบดี 2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง 3.หัวหน้าหลักสูตร/ผู้อำนวยการหลักสูตรและหัวหน้าห้องวิจัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรมีการเชื่อมโยงการทำผลงานวิชาการเข้ากับการส่งเสริมการสร้างทีมวิจัย เพื่อผลักดันการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการที่สูงขึ้นของอาจารย์ประจำ 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการใหม่เพิ่มขึ้นและการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการให้สูงขึ้น 3.ดำเนินการตามแผนโดยเน้นทิศทางการปฏิบัติภารกิจของอาจารย์ในแบบ Synergy ภารกิจในทุกมิติเข้าด้วยกัน 4.กิจกรรมประชุมสัมมนาประจำเดือนและประจำปี 1.โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ 2.กิจกรรมประชุมสัมมนาประจำเดือนและประจำปี 1.คณบดี 2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง 3.หัวหน้าห้องวิจัย

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) วิทยาลัยมี โครงการ/กิจกรรมในการให้บริการวิชาการจำนวนมาก ทั้งเป็นโครงการที่สร้างรายได้ และ โครงการแบบให้เปล่า และเกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่ม 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ ในด้านการพัฒนางานบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการพัฒนางานบริการวิชาการในทุกมิติที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศและการ Synergy ภารกิจด้านงานบริการวิชาการกับภาระกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.ดำเนินการตามแผน 1.กิจกรรมการพัฒนางานบริการประจำปีทั้งในระดับคณะ ระดับหลักสูตรและระดับห้องวิจัย 2.โครงการปรับปรุงระบบรับรองมาตรฐานงานบริการเพื่อรองรับการให้บริการวิชาการในเชิงพาณิชย์ 1.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 2.หัวหน้ารายวิชาที่เกี่ยวข้อง 3.หัวหน้าหลักสูตรและผู้อำนวยการหลักสูตร
2) บุคคลากรของวิทยาลัย มีการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย และ ภายนอกมหาวิทยาลัย และเกี่ยวข้องกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ ในด้านการพัฒนาเครือข่ายงานบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการพัฒนาเครือข่ายงานบริการวิชาการในทุกมิติที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศ 3.เน้นทิศทางการปฏิบัติภาระกิจของอาจารย์ในแบบ Synergy ภารกิจในทุกมิติเข้าด้วยกัน 4.ดำเนินการตามแผน 1.กิจกรรมการสานต่อความร่วมมือกับเครือข่ายพันธมิตรที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันพัฒนางานบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศ 2.กระตุ้นและส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานในลักษณะ Synergy ระหว่างงานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการและงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อพัฒนางานบริการวิชาการในทุกมิติกับเครือข่ายพันธมิตรที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันพัฒนางานบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาสังคมและประเทศ 1.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 2.หัวหน้าหลักสูตรและผู้อำนวยการหลักสูตร 3.หัวหน้ารายวิชา
3) วิทยาลัยมีความพร้อมด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ สถานที่ และมีการจัดตั้ง ศูนย์นวัตกรรมและบริการวิศวกรรมชีวการแพทย์ ศูนย์การศึกษาและพัฒนามาตรฐานบริการสุขภาพนานาชาติ และ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีวิศวกรรมชีวการแพทย์ ในการให้บริการวิชาการกับนักศึกษา และ บุคคลทั้วไป 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ ในด้านที่เกี่ยวข้องกับระบบโครงสร้างพื้นฐานงานบริการวิชาการ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่เกี่ยวข้องกับ ระบบโครงสร้างพื้นฐานงานบริการวิชาการในทุกมิติเพื่อสนับสนุนภารกิจการปฏิบัติงานแบบ Synergy ทุกภารกิจของอาจารย์ระดับอุดมศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้น 3.ดำเนินการตามแผน 1.โครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการ ห้องวิจัยและศูนย์บริการวิชาการ 2.โครงการปรับปรุงระบบรับรองมาตรฐานงานบริการเพื่อรองรับการให้บริการวิชาการในเชิงพาณิชยย์ 1.คณบดี 2.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 3.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การปรับทัศนคติของอาจารย์ที่เข้ามาใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของวิทยาลัย 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการจากแผนพัฒนาบุคลากรทั้งระยะสั้นและระยาวเพื่อเสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน 2.สำหรับอาจารย์ใหม่ได้มีกระบวนการการปรับทัศนคติโดยการให้เรียนรู้ถึงวัฒนธรรมการทำงานและวัฒนกรรมองค์กรในทุกมิติอย่างต่อเนื่องทั้งทางตรงและทางอ้อม 3.การกระตุ้นและส่งเสริมให้อาจารย์ใหม่มีการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านการพัฒนาคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้สามารถดำเนินการได้ทันทีเมื่อโอกาสและเวลามาถึง 1.กิจกรรมปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ 2.กิจกรรมประชุมสัมมนาประจำเดือนและประจำปี 1.คณบดี 2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) วิทยาลัยฯ มีระบบและกลไกด้านการบำรุงศิลปะวัฒนธรรม และมีการจัดเตรียมงบประมาณเพื่อดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการจากแผนพัฒนาบุคลากรทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อเสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน 2.เน้นการทิศทางการทำงานแบบ Synergy ภารกิจงานสอน งานวิจัย งานบริการทางวิชาการและงานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน 1.กิจกรรมปฐมนิเทศ 2.กิจกรรมงานทำบุญขึ้นปีใหม่และคืนสู่เหย้า 3.กิจกรรมงานรับปริญญา 4.กิจกรรมงานสงกรานต์ 1.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 2.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร 3.หัวหน้ารายวิชา 4.หัวหน้าห้องวิจัย 5.ประธานชมรมที่เกี่ยวข้อง 6.นายกสมาคมศิษย์เก่า
2) อาจารย์ นักศึกษา และ ศิษย์เก่า มีส่วนร่วมในกิจกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการจากแผนพัฒนาบุคลากรทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อเสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน 2.เน้นการทิศทางการทำงานแบบ Synergy ภารกิจงานสอน งานวิจัย งานบริการทางวิชาการและงานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน 1.กิจกรรมปฐมนิเทศ 2.กิจกรรมงานทำบุญขึ้นปีใหม่และคืนสู่เหย้า 3.กิจกรรมงานรับปริญญา 4.กิจกรรมวันสงกรานต์ 1.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 2.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร 3.หัวหน้ารายวิชา 4.หัวหน้าห้องวิจัย 5.ประธานชมรมที่เกี่ยวข้อง 6.นายกสมาคมศิษย์เก่า
3) กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มีการวางแผน และติดตามแผน และประเมินความสำเร็จของแผนและมีการแผยแพร่กิจกรรมด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการจากแผนพัฒนาบุคลากรทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อเสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน 2.เน้นการทิศทางการทำงานแบบSynergy ภารกิจงานสอน งานวิจัย งานบริการทางวิชาการและงานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน 1.กิจกรรมปฐมนิเทศ 2.กิจกรรมงานทำบุญขึ้นปีใหม่และคืนสู่เหย้า 3.กิจกรรมงานรับปริญญา 4.กิจกรรมวันสงกรานต์ 1.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 2.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรจะมีการบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน การวิจัย หรือการบริการวิชาการ 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการจากแผนพัฒนาบุคลากรทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อเสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน 2.เน้นการทิศทางการทำงานแบบSynergy ภารกิจงานสอน งานวิจัย งานบริการทางวิชาการและงานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน 1.กิจกรรมปฐมนิเทศ 2.กิจกรรมรับน้องใหม่ 3.กิจกรรมงานทำบุญขึ้นปีใหม่และคืนสู่เหย้า 4.กิจกรรมค่ายวิศวกรชีวการแพทย์สู่ชุมชน 5.กิจกรรมค่ายอุปกรณ์การแพทย์สัญจร 6.กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ 7.กิจกรรมงานรับปริญญา 8.กิจกรรมวันสงกรานต์ 1.รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 2.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร 3.หัวหน้ารายวิชา 4.หัวหน้าห้องวิจัย 5.ประธานชมรมที่เกี่ยวข้อง 6.นายกสมาคมศิษย์เก่า

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยฯ ที่เป็นผลมาจากการวิเคราะห์เชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของวิทยาลัยฯ และสร้างการมีส่วนร่วมแก่บุคลากรทุกระดับในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของวิทยาลัยฯ 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ ในด้านการพัฒนาวิทยาลัยฯที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับความต้องการของโลกและการพัฒนาสังคมและประเทศในด้านที่เกี่ยวข้องในทุกมิติ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนของแผนงานระยะ1ปีในทุกมิติ เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของโลกและในการพัฒนาสังคมและประเทศ 3.เน้นในด้านการปฏิบัติงานแบบ Synergy ในทุกภารกิจของอาจารย์ระดับอุดมศึกษาเพื่อให้การดำเนินงานตามแผนบรรลุผล 4.ใช้ระบบเกียรติยศ (Honor System) และเน้นการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานในทุกมิติของวิทยาลัย 1.การติดตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกและของประเทศไทยในทุกมิติเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงแผนงาน 2.การประชุมและสัมมนาประจำปี 3.การประชุมและสัมมนาประจำเดือน 4.กิจกรรมดูงานและเยียมชมรวมทั้งการจัดกิจกรรมร่วมกันกับเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและต่างประเทศ 1.คณบดี 2.รองคณบดี 3.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร
2) การดำเนินงานของวิทยาลัยฯ สะท้อนการมุ่งเน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการนำหลักธรรมาภิบาลมาเป็นแนวทางสำคัญในการบริหารจัดการ ร่วมกับวิสัยทัศน์ และความมุ่งมั่นของผู้บริหารทุกระดับ และบุคลากรทุกฝ่าย 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการ ในด้านการพัฒนาวิทยาลัยฯที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับความต้องการของโลกและการพัฒนาสังคมและประเทศในด้านที่เกี่ยวข้องในทุกมิติ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนของแผนงงานระยะ1ปีในทุกมิติ เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของโลกและในการพัฒนาสังคมและประเทศ 3.เน้นในด้านการปฏิบัติงานแบบ Synergy ในทุกภาระกิจของอาจารย์ระดับอุดมศึกษาเพื่อให้การดำเนินงานตามแผนบรรลุผล 4.ใช้ระบบเกียรติยศ (Honor System) และเน้นการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานในทุกมิติของวิทยาลัย 1.การติดตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกและของประเทศไทยในทุกมิติเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงแผนงาน 2.การประชุมและสัมมนาประจำปี 3.การประชุมและสัมมนาประจำเดือน 4.กิจกรรมดูงานและเยียมชมรวมทั้งการจัดกิจกรรมร่วมกันกับเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและต่างประเทศ 1.คณบดี 2.รองคณบดี/ผู้ช่วยคณบดี 3.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร 4.หัวหน้ารายวิชา 5.หัวหน้าห้องวิจัย 6.เลขานุการวิทยาลัย 7.อาจารย์และเจ้าหน้าที่ทุกท่าน
3) มีหลักสูตรที่มีคุณภาพสูง อันเป็นผลมาจากการนำแนวคิดด้านการประกันคุณภาพมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน มีการทบทวนผลการดำเนินงานจนนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานทั้งระดับหลักสูตร และระดับคณะอย่างต่อเนื่อง 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการอยู่ตลอดเวลาทั้งระยะสั้นและระยะยาวในด้านการพัฒนาวิทยาลัยฯและหลักสูตรในทุกระดับที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับความต้องการของโลกและการพัฒนาสังคมและประเทศในด้านที่เกี่ยวข้องในทุกมิติ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนของแผนงานระยะ1ปีในทุกมิติ เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของโลกและในการพัฒนาสังคมและประเทศ 3.เน้นในด้านการปฏิบัติงานแบบ Synergy ในทุกภารกิจของอาจารย์ระดับอุดมศึกษาเพื่อให้การดำเนินงานตามแผนบรรลุผล 4.ใช้ระบบเกียรติยศ (Honor System) และเน้นการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานในทุกมิติของวิทยาลัย 1.การติดตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกและของประเทศไทยในทุกมิติเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงแผนงาน 2.การประชุมและสัมมนาประจำปี 3.การประชุมและสัมมนาประจำเดือน 4.กิจกรรมดูงานและเยียมชมรวมทั้งการจัดกิจกรรมร่วมกันกับเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและต่างประเทศ 1.คณบดี 2.รองคณบดี/ผู้ช่วยคณบดี 3.หัวหน้าและผู้อำนวยการหลักสูตร 4.หัวหน้ารายวิชา 5.หัวหน้าห้องวิจัย
4) มีศักยภาพด้านการจัดการความรู้ โดยเฉพาะด้านการวิจัย 1.ประเมินแผน ประเมินกระบวนการอยู่ตลอดเวลาในด้านการจัดการความรู้ 2.เสริมจุดแข็งและปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนของแผนงานในด้านการจัดการความรู้ในทุกมิติ 4.ใช้ประโยชน์จากแนวทางการปฏิบัติงานแบบ Synergy ภารกิจให้เป็นประโยชน์ต่อการจัดการความรู้ของแต่ละด้่าน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงาน 1.การประชุมและสัมมนาประจำปี 2.การประชุมและสัมมนาประจำเดือน 1.คณบดี 2.รองคณบดีที่เกี่ยวข้อง 3.หัวหน้าหลักสูตร 4.หัวหน้าห้องวิจัย 5.อาจารย์ประจำที่เกี่ยวข้อง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีศักยภาพสูงในการบริหารจัดการ จึงควรมีการถอดความรู้ ด้านการพัฒนาองค์กร เพื่อเป็นแนวทางของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน อื่น ใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการ 1.ในระยะเวลาที่ผ่านมาวิทยาลัยได้จัดทำการจัดการความรู้และได้รับรางวัลที่เกี่ยวข้องกับงานในด้านการบริหารจัดการในมิติต่างๆดังนี้ 1. ราางวัลด้านการจัดการคณะ/วิทยาลัย 2. รางวัลด้านการบริหารจัดการเพื่อพัฒนานักศึกษา 3. รางวัลด้านการบริหารจัดการงานวิจัย ส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและได้รับรางวัลอยู่อย่างสม่ำเสมอ 2. ปีการศึกษา2567 ทางวิทยาลัยได้ส่งผลงานในด้านการจัดการงานบริการวิชาการ การพัฒนานักศึกษา การพัฒนางานวิจัยสู่การประกวดผลงงานระดับชาติ รวม 3 ผลงาน 1. วิทยาลัยจะนำเอาบทความที่เคยได้รับรางวัลการจัดการความรู้ในด้านการบริหารจัดการในมิติต่างๆมาเผยแพร่ใน Website ของวิทยาลัยต่อไป 2.ปีการศึกษา2567 ทางวิทยาลัยได้ส่งผลงานในด้านการจัดการงานบริการวิชาการ การพัฒนานักศึกษา การพัฒนางานวิจัยสู่การประกวดผลงงานระดับชาติ รวม 3 ผลงาน 1.คณบดีและรองคณบดีที่เกี่ยวข้อง 2.หัวหน้าหลักสูตรและผู้อำนวยการหลักสูตร