การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะเศรษฐศาสตร์

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การจัดกิจกรรมนักศึกษา ให้ดำเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ จัดกิจกรรมต่างๆอย่างต่อเนื่องตลอดปีการศึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ให้ครบทุกด้าน เน้นการเสริมทักษะ การเรียนรู้จากกิจกรรม (Activity-based learning) - โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา - โครงการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต - โครงการเตรียมความพร้อมบัณฑิตสู่การทำงาน - โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต (นักศึกษาพิเศษ) - รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา - หัวหน้าหลักสูตร ปริญญาตรี - หัวหน้าหลักสูตร ปริญญาตรี - อาจารย์อรอนงค์ นิธิภาคย์
2) สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริงของคณะเศรษฐศาสตร์ 22.10 (จากเกณฑ์มาตรฐานต่ำกว่าสัดส่วน 25:1) ทำให้สามารถดูแล การให้คำปรึกษา และส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาได้ มีการวิเคราะห์อัตรากำลังโดยคำนึงถึงสัดส่วนอาจารย์ประจำต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) รวมทุกหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน รับอาจารย์ใหม่เพิ่มให้เหมาะสมต่อสัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ รองคณบดีฝ่ายบริหาร
3) คณาจารย์ของคณะมีคุณวุฒิสูง สนับสนุนส่งเสริมอาจารย์ให้สามารถเพิ่มคุณวุฒิและพัฒนาความรู้ทักษะในด้านต่างๆ ส่งเสริมให้อาจารย์เพิ่มคุณวุฒิพัฒนาตนเอง เพิ่มพูนความรู้ทักษะในด้านต่างๆ รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินทุกหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ ในหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตให้มีค่าผลการประเมินที่สูงขึ้น หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตเร่งพัฒนาในทุกด้านตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อให้มีผลการประเมินที่สูงขึ้นในปีต่อๆไป หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตเร่งพัฒนาในทุกด้านตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อให้มีผลการประเมินที่สูงขึ้นในปีต่อๆไป ผู้อำนวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต
2) การส่งเสริมอาจารย์ประจำคณะให้มีตำแหน่งทางวิชาการ สนับสนุนให้คณาจารย์ในคณะขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น ส่งเสริมให้อาจารย์ส่งผลงาน ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐาน TCI 1 และ TCI 2 และ Scopus รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
3) การให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า ควรมีการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมให้เห็นอย่างชัดเจนโดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี จัดบริการให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า ผ่าน Facebook คณะ และ Facebook กลุ่มสมาคมศิษย์เก่าคณะเศรษฐศาสตร์ ม.รังสิต โพสต์ให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ที่เป็นประโยชน์เช่น การรับสมัครงาน การอบรม สัมมนา ข้อมูลความรู้ต่างๆ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) อาจารย์มีผลงานวิชาการที่มีการเผยแพร่จำนวนมาก คณะฯ กระจายความรับผิดชอบเพื่อให้มีผลงานวิชาการเพิ่ม ขอโครงการวิจัยขนาดใหญ่ ผู้บริหารคณะฯ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ส่งเสริมการขอทุนสนับสนุนงานวิจัยให้เพิ่มขึ้น ระบุแหล่งทุนภายนอกให้ชัดเจนและให้คณบดีนำทีมที่จะร่วมกันทำงานไปติดต่อ รายงานในที่ประชุมคณะ ผู้บริหารคณะฯ

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะมีการรายงานการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามเกณฑ์การบริการวิชาการ มีวัตถุประสงค์ของแผนการบริการวิชาการ เชิงปริมาณครอบคลุมทั้งการบริการวิชาการแบบสู่สาธารณะ และแบบเฉพาะ จัดทำแผนการบริการวิชาการกำหนดวัตถุประสงค์ และรายงานการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามเกณฑ์การบริการวิชาการ และให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชน สังคม อย่างต่อเนื่อง นำข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากการประเมินในปีที่ผ่านมา นำมาปรับปรุงพัฒนาแผนการบริการวิชาการ แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการต่อไป และรายงานการดำเนินงานให้ครบถ้วนตามเกณฑ์การบริการวิชาการ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) แผนการบริการวิชาการควรแสดงการ mapping กิจกรรมตามวัตถุประสงค์รายข้อ แล้วประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และควรเพิ่มวัตถุประสงค์ที่เป็น social impact assessment และการสร้าง value ทั้งที่ไม่ใช่ตัวเงินและเป็นตัวเงิน ปรับการเขียนแผนการบริการวิชาการให้ชัดเจนยิ่งขึ้น วางแผนการใช้ประโยชน์จากการให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อให้มีผลประโยชน์ทั้งที่ไม่ใช่ตัวเงินและเป็นตัวเงิน ต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชน และสังคม อย่างต่อเนื่อง จัดทำแผนการบริการวิชาการประจำปีที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม และกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
2) ในส่วนของแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ ขอให้คำนึงถึงการเอาผลลัพธ์จากการบริการวิชาการไปทำประโยชน์ต่อไป จัดการบริการวิชาการตามแผนโดยเน้นแผนการใช้ประโยชน์และต่อยอดไปสู่โครงการ หรือประโยชน์ต่อเนื่องอื่นๆ เช่น การเรียนรู้และการพัฒนาร่วมกับชุมชนในพื้นที่ต่างๆ โดยนำความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ไปเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ให้กับชุมชนและสังคมภายนอก - โครงการการเสริมสร้างทักษะการพัฒนาตนเอง เพื่อสุขภาวะครอบครัวของเยาวชนในพื้นที่หลักหกและชุมชนใกล้เคียงโดยใช้แนวทางศาสตร์พระราชา “การพึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุด” - โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา - โครงการเสวนาวิชาการของหลักสูตรปริญญาเอก - ผศ.ดร.เทอดศักดิ์ ชมโต๊ะสุวรรณ - อาจารย์อรอนงค์ นิธิภาคย์ - รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา - ผู้อำนวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ในปีการศึกษา 2565 คณะเศรษฐศาสตร์ได้ดำเนินการเผยแพร่กิจกรรมและการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชนผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์หลักของคณะ (เพจเฟสบุ๊คคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต) และเว็บไซต์ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งในปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจของคณะจำนวน 2,616 คน และคาดว่าจะเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆจากการเผยแพร่กิจกรรมต่างๆของคณะ - - -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีการจัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน แต่ไม่ได้ระบุกิจกรรมและไม่ได้ระบุงบประมาณในแผน(เช่นกิจกรรมตามเกณฑ์ข้อ 2.) เพิ่มการระบุกิจกรรมและงบประมาณและแหล่งที่มาของงบประมาณ จัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยระบุกิจกรรมและงบประมาณและแหล่งที่มาของงบประมาณ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาฯ
2) มีการกำหนดวัตถุประสงค์ตามแผน และมีการ mapping ทักษะการเรียนรู้กับมาตรฐานคุณวุฒิ แต่ไม่เห็นการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา - เพิ่มการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา ทบทวนการจัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
3) ในปีการศึกษา 2566 คณะควรจะปรับปรุงแผนให้มีการบูรณาการกิจกรรมทางด้านศิลปและวัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อมเข้ากับรายวิชาเพิ่มขึ้น และเพิ่มความร่วมมือกับกลุ่มคณะและองค์กรภายนอกให้มากยิ่งขึ้น - บูรณาการกิจกรรมด้านศิลปและวัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อมกับรายวิชา - เพิ่มความร่วมมือกับองค์กรภายนอก อาทิ โรงเรียนในชุมชนใกล้เคียง เป็นต้น - โครงการจิตอาสา เราทำดีด้วยหัวใจ ร่วมกับโรงเรียนสารสาสน์วิเทศคลองหลวง รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและคณะกรรมการนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์
4) ปัญหาด้านงบประมาณสนับสนุนด้านศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมระดับคณะที่ไม่มี ซึ่งโครงการหรือกิจกรรมทั้งหมดจะต้องออกค่าใช้จ่ายเอง ขอรับบริจาคหรือสนับสนุนโครงการจากภายในคณะหรือองค์กรภายนอก โครงการศึกษาดูงานและทำกิจกรรมร่วมกับท้องถิ่นชุมชนต่างๆ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและคณะกรรมการนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีหลักสูตรในความรับผิดชอบ 4 หลักสูตร ซึ่งบริหารจัดการ และกำกับควบคุม ให้มีคุณภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ จุดแข็ง คณะฯ จะนำมาใช้เพื่อขจัดจุดอ่อนและอุปสรรคปัญหา - -
2) ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ สามารถขับเคลื่อนองค์กรอย่างมีธรรมาภิบาบครบถ้วนทุกด้าน - - -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ดำเนินการเรื่องการจัดการความรู้ในองค์กร มอบหมายรองคณบดีฝ่ายวิชาการให้เป็นผู้ดูแลในเรื่องการจัดการความรู้ในองค์กร คณะกรรมการคณะฯ มีมติให้มีการจัดการองค์ความรู้ในเรื่องการผลิตบัณฑิต และการวิจัย โดยมอบหมายให้อาจารย์ 2 ท่านในคณะ ดำเนินการเรื่องดังกล่าว ผศ.ดร.เทอดศักดิ์ ชมโต๊ะสุวรรณ
2) ควรมีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของคณะ เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินการ ตลอดจนถ่ายทอดยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าว สู่แผนงานและแผนปฏิบัติการ ภายใต้การกำกับของคณะกรรมการประจำคณะ การวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ และนำไปใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรและแผนงานของคณะ คณะฯ มีงานสัมมนาใหญ่ ในวันที่ กุมภาพันธ์ 2567 เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก นำไปสู่การกำหนดแผนงานของคณะในอีก 5 ปีและการปรับปรุงหลักสูตรปริญญาตรี โท และเอก อ.อรอนงค์ นิธิภาคย์ และผศ.ดร.เทอดศักดิ์ ชมโต๊ะสุวรรณ