การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะดิจิทัลอาร์ต

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีระบบและกลไกในการดูแลนักศึกษาเป็นอย่างดี การส่งต่อแนวทางการจัดการด้านการดูแลนักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ และออนไซท์ การจัดอบรมภายใน และการสร้างระบบพี่เลี้ยงเพื่อให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะ อ.ธิดารัตน์ บุญรักษ์
2) มีโครงการที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาตามคุณลักษณะบัณฑิตทุกด้าน การประชาสัมพันธ์เพื่อขยายโอกาส ให้นักศึกษาเข้าถึงกิจกรรมภายในและภายนอกของคณะ - กิจกรรม Open House - กิจกรรม Digicamp - กิจกรรม Master Class - 24HRs Animation Contest 2023 - Workshop ในทางกลับกัน... Animation in the other way round (2nd Edition) - กิจกรรมบรรยายด้านแอนิเมชัน Talk with Sebastien รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
3)
4)
5)

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรมีโครงการที่สามารถให้ข้อมูลและความรู้ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า การจัดทำระบบการจัดข้อมูลศิษย์เก่าที่เข้าร่วมกิจกรรม - กิจการบรรยายด้านแอนิเมชัน - รายวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัลอาร์ต - นิทรรศการภายในและภายนอกคณะ รองคณะบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ หัวหน้าโครงการ
2) ควรมีการส่งเสริมให้คณาจารย์ได้มีการพัฒนาผลงานวิชาการ ประเภทบทความวิชาการ งานวิจัย ตำรา/หนังสือ เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่ม รวมถึงการสนับสนุนทุนวิจัยเพิ่มขึ้น การส่งต่อความรู้ด้านวิชาการ และงานวิจัย การประชาสัมพันธ์ทุนวิจัยภายใน และภายนอก การจัดทำระบบพี่เลี้ยงนักวิจัยใหม่ การแนะแนวระเบียบขั้นตอน และเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ - กิจกรรม KM - การใช้กลุ่มข่าวสารอาจารย์คณะดิจิทัลอาร์ต เพื่อส่งต่อข้อมูลด้านวิจัย - กิจกรรมพี่เลี้ยงตามรูปแบบงานวิจัย รองคณะบดีฝ่ายวิชาการ อาจารย์ภายในคณะที่มีประสบการณ์ทำวิจัย อาจารย์ภายในคณะที่มีประสบการขอทุนวิจัยภายใน และภายนอก อาจารย์ภายในคณะที่มีประสบการณ์ การขอตำแหน่งทางวิชาการ
3) ควรมีแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก การประชาสัมพันธ์แนวนโยบายสนับสนุนคณาจารย์เพื่อศึกษาต่อในระดับในระดับปริญญาเอก การเผยแพร่หลักสูตรระดับปริญญาเอกผ่าน Facebook Page: ข่าวสารคณาจารย์คณะดิจิทัลอาร์ต รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีจำนวนผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ในระดับนานาชาติเป็นจำนวนมาก คิดเป็นสัดส่วนร้อยละที่สูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ การขยายพื้นที่เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์สู่ภายนอกมหาวิทยาลัย งานเผยแพร่ผลงานวิจัยสรรค์ระดับชาติ งานเผยแพร่ผลงานวิจัยสรรค์ระดับนานาชาติ นิทรรการเผยแพร่ผลงานวิจัยและนิทรรศการสร้างสรรค์ระดับชาติ นิทรรศการเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ระดับนานาชาติ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ อาจารย์ประจำคณะดิจิทัลอาร์ต
2) มีทุนสนับสนุนโครงการวิจัยจากหน่วยงานภายนอกเป็นยอดเงินที่สูงมาก การขยายโอกาสทุนให้อาจารย์ภายในที่ไม่เคยได้รับทุนวิจัย หรือทุนสร้างสรรค์ - กิจกรรมพี่เลี้ยงด้านการเขียนโครงร่างเพื่อขอทุนวิจัย และทุนสร้างสรรค์ - กิจกรรม KM - รองคณบดีผ่ายวิชาการ - อาจารย์ที่มีประสบการณ์ด้านการขอทุนวิจัย - อาจารย์ที่มีประสบการณ์ด้านการขอทุนสร้างสรรค์

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ไม่มี

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีการบริการวิชาการที่สร้างประโยชน์และเชื่อมโยงระหว่างคณะกับสู่สังคมและชุมชน รวมทั้งความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ภายนอก ทั้งหน่วยงานของรัฐ และองค์กรเอกชน บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนพัฒนาที่ได้ตั้งไว้ การจัดตั้งศูนย์บริการวิชาการ การกำหนดแผนงานศูนย์บริการวิชาการ เพื่อสนับสนุนงานบริการวิชาการทั้งมีรายได้ และไม่มีรายได้ โครงการบริการวิชาการทั้งมีรายได้ และไม่มีรายได้ของคณะ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ หัวหน้าศูนย์บริการวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรพัฒนาและขยายช่องทางในการให้บริการวิชาการแบบมีรายได้ ให้มากขึ้น การกำหนดแผนงานของศูนย์บริการวิชาการในลักษณะเชิงรุก การจัดอบรมด้านดิจิทัลอาร์ตแบบมีรายได้ การผลิตสื่อภาพเคลื่อไหว หรือการผลิตสื่อพืมพ์ต่าง ๆ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ หัวหน้าศูนย์บริการวิชาการ

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีการบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม จากการเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาตรีที่เป็นรูปธรรมและชัดเจน - เชื่อมโยงเนื้อหาการสอนให้เข้ากับบริบทของสังคมในปัจจุบัน การเรียนรู้ผ่านรายวิชาในหลักสูตร - DGA361 ศิลปะอาเซียนเพื่องานดิจิทัลอาร์ต - ANM122 การออกแบบตวละครและสภาพแวดล้อม - DLC224 การออกแบบตวละคร - DLC225 ศิลปะพหุวัฒนธรรม ผู้สอนรายวิชา - DGA361 ศิลปะอาเซียนเพื่องานดิจิทัลอาร์ต - ANM122 การออกแบบตวละครและสภาพแวดล้อม - DLC224 การออกแบบตวละคร - DLC225 ศิลปะพหุวัฒนธรรม

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะควรมีแผนยุทธศาสตร์และพัฒนาด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในระดับคณะ โดยกำหนดวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จหรือค่าเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อประสิทธิภาพในการดำเนินการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในภาพรวมในระหว่างปี และการประเมินความสำเร็จในช่วงปลายปี คณะได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์และพัฒนาด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ฝ่านกิจกรรมภายในคณะ และ ระดับมหาวิทยาลัย - กิจกรรมส่งเสริม ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยฝ่ายกิจการนักศึกษา - การเข้าร่วม หรือสนับสนุนกิจกรรม ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่านกิจการนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีการบริหารจัดการผ่านระบบสารสนเทศภายในคณะดิจิทัลอาร์ต ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงานทั้งภายในคณะและระดับมหาวิทยาลัย เป็นระบบมีความสะดวก แม่นยำ สามารถตรวจสอบงานส่วนต่าง ๆ ได้ พัฒนาระบบสารสนเทศภายในคณะด้านต่าง ๆ ให้สะดวกชิ้น 1. ระบบจัดตารางสอน 2. ระบบการจองห้องเรียน 3. ระบบการตรวจสอบห้องเรียน 4. ระบบการตรวจสอบสภานะของห้องแลปคอมพิวเตอร์ เว็บไซท์: https://digitalart.rsu.ac.th/ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ภาระงานที่นอกเหนืองานสอนมีจำนวนมาก ควรมีระบบการจัดการ การบริหาร การติดตาม เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ช่วยลดความเสี่ยง และเพิ่มความพึงพอใจของอาจารย์ การเปิดพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมอง นำเสนอความเห็นภายในคณะ สัมนาประจำปีคณะดิจิทัลอาร์ต รองคณบดีฝ่ายวิชาการ