การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยนานาชาติ

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวมอยู่ในระดับดี (3.51) ควรพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตรในประเด็นที่ยังสามารถพัฒนาได้อีก กิจกรรมพัฒนาขึ้นเป็นไปตาม PLO, YLO, และ CLO (Program Learning, Year Learning & Couse Learning Outcome) เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศในการศึกษาและพัฒนาบัณฑิต - กิจกรรมพัฒนาทักษะ (Skill) เพื่อเตรียมพร้อมทั้งความเป็นมืออาชีพในการทำงาน เช่น TNSC Sale competition Business case competition , Hackathon, ICT Business Pitch - กิจกรรมพัฒนาการสื่อสาร Speech contest - การลงพื้นที่ร่วมกับชุมชน เพื่อพัฒนาสินค้าทั้งด้านบรรจุภัณฑ์และการสร้างแบรนด์ (Business consultancy หลักสูตร MIDB) ทุกหลักสูตรในวิทยาลัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการค่อนข้างน้อย ควรเร่งพัฒนาอาจารย์ให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการอย่างจริงจัง โดยจัดทำแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคล (IDP) ให้ชัดเจน - วางแผนพัฒนาบุคลากรด้านงานวิจัย ส่งเสริมให้ขอตำแหน่งวิชาการและเงินทุนวิจัยสนับสนุน - ให้กรรมการชุดงานวิจัยส่งเสริมระบบพี่เลี้ยงงานวิจัย เข้าอบรมกิจกรรมงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กรรมการส่งเสริมงานวิจัย
2) จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ควรจัดหาอาจารย์เพิ่ม ให้ได้ตามสัดส่วนที่กำหนด เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำแต่ละหลักสูตร ให้ได้ตามสัดส่วนที่กำหนด

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีแผนบริหารงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ วิทยาลัยนานาชาติ (2565-2569) - เน้นแหล่งตีพิมพ์เป็นระดับวารสารนานาชาติ - เน้นทำวิจัยตอบสนองประโยชน์ต่อสังคม และองค์กร - เน้นการเพิ่มหาแหล่งเงินทุนวิจัย - เข้าร่วมอบรมสัมมนาการทำวิจัย - ประชุม กรรมการฝ่ายส่งเสริมงานวิจัยวิทยาลัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ปรับปรุงแผนการปฏิบัติการเพื่อให้สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่ตั้งไว้ ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์และนักศึกษาให้ส่งผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติมากขึ้น ทุกหลักสูตร
2) วิทยาลัยควรมีระบบสารสนเทศที่ใช้ในการบริหารงานวิจัยของตนเอง เพื่อช่วยสนับสนุนให้คณาจารย์ได้วางแผนและผลิตงานวิจัย รวมถึงการเผยแพร่และนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งรายชื่อ Link วารสารนานาชาติต่าง ๆ , Website ให้แก่อาจารย์และนักศึกษา ทุกหลักสูตร
3) วิทยาลัยควรใช้กลไกของแผนบริหารและพัฒนาอาจารย์ผลักดันให้ทุกสาขาวิชาฯ ให้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยทั้งภายในและภายนอกมากขึ้น รวมถึงใช้ระบบนักวิจัยพี่เลี้ยงเพื่อช่วยสนับสนุนให้อาจารย์รุ่นใหม่ได้มีโอกาสเริ่มทำงานวิจัยโดยได้รับทุนสนับสนุน - ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยในวิทยาลัยนานาชาติ - ติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมายและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุนตามความเหมาะสม ติดตามความคืบหน้าและให้คำแนะนำ ทุกหลักสูตร

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) - มีโครงการบริการวิชาการแบบมีรายรับ - เข้าร่วมกิจกรรมการบริหารวิชาการในระดับสถาบันและสากล - ใช้องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี อบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในสังคม - RSU IELTS Test Center แต่งตั้งโดย British Council (ประเทศไทย) - Digital Technology for smart Teaching หลักสูตร IB และ ICT

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรปรับปรุงระบบกลไกและการดำเนินงานด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ตามแนวทางประกันคุณภาพ - แจ้งทุกฝ่ายที่จัดทำโครงการบริการวิชาการให้ระบุแผนการใช้ประโยชน์จากโครงการบริการให้ชัดเจน และแสดงผลลัพธ์ (Key Result) ของผู้เข้าร่วมให้ชัดเจนขึ้น - โครงการ Digital Technology for smart Teaching อบรมบุคคล / ครูภายนอก เพื่อให้เกิดทักษะการสอนที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่แทนที่วิธีการสอนแบบเดิมในตำรา หลักสูตรธุรกิจระหว่างประเทศ (IB) และหลักสูตรนวัตกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การมีนักศึกษาต่างชาติ ทำให้มีโอกาสจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อแลกเปลี่ยนรู้วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน มีการนำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม Academic Integration (การบูรณาการทางวิชาการ) ผ่านงานวิชาการต่าง ๆ ระหว่างนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศทั้งในด้านวิชาการและศิลปะวัฒนธรรม - กิจกรรมในรายวิชา IBM445 (Cross Cultural Management) ระหว่างวิทยาลัยนานาชาติและมหาวิทยาลัยใน ASEAN : อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม - รายวิชา IFN211 (Business Finance) และ IMK 201 (Principles of Marketing) ทำกิจกรรมร่วมกับคณะอาชญาวิทยา - นำนักศึกษาแลกเปลี่ยนและนักศ฿กษาไทย ไปทัศนะศึกษา ณ หมู่บ้านอนุรักษ์ควายไทย และ สวนสามพราน นครปฐม - หลักสูตร IB, ICT - ฝ่ายกิจการนักศึกษา
2) การบูรณาการศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนมีความโดดเด่น ควรสร้างสรรค์และพัฒนากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีการนำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม Academic Integration (การบูรณาการทางวิชาการ) ผ่านงานวิชาการต่าง ๆ ระหว่างนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศทั้งในด้านวิชาการและศิลปะวัฒนธรรม จัดกิจกรรมที่นักศึกษาได้ลงพื้นที่ศึกษาวัฒนธรรมในชุมชน เช่น การอนุรักษ์งานศิลปะพื้นบ้านร่วมกับคนในท้องถิ่น - หลักสูตร IB, ICT - ฝ่ายกิจการนักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรทบทวนกระบวนการจัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการกำกับติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงแผนดังกล่าว จะจัดทำแผนกิจกรรมวิชาการส่งเสริมพัฒนาบุคลากร และแผนพัฒนากิจกรรมนักศึกษาให้ชัดเจน รวมถึงกำกับติดตาม ประเมินและปรับปรุงแผนให้เหมาะสมตามสถานการณ์ - RSUNIVAL (วันสงกรานต์) - International Day ฝ่ายกิจการนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีโครงสร้างการบริหารและการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ตามภารกิจของสถาบันการศึกษา และระบุงานที่ต้องรับผิดชอบอย่างชัดเจน และผู้บริหารใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน ควรให้มีการประเมินผู้บริหารคณะในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยบุคลากรคณะ ได้มีคำสั่งแต่งตั้งกรรมการชุดต่างๆ ออกมาใหม่ในปีดังกล่าวและจะระบุหน้าที่ในคำสั่งให้ชัดเจน หนังสือคำสั่งแต่งตั้ง กรรมการแต่งตั้งชุดต่างๆ
2) มีการรายงานความเสี่ยงครอบคลุมทุกด้าน แต่ควรเสริมการรายงานแนวโน้มของการลดค่าความเสี่ยงจากการดำเนินงานตามมาตรการลดความเสี่ยงให้ครบทุกด้าน จัดให้มีรายงานความเสี่ยงครอบคลุมทุกด้าน วิเคราะห์ความเสี่ยงความเสี่ยงวิทยาลัยนานาชาติและหาแนวทางป้องกันหรือลดความเสี่ยง กรรมการแต่งตั้งชุดต่างๆ
3) มีการจัดการความรู้จากแนวปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จทั้งพันธกิจการผลิตบัณฑิต การวิจัย และความเป็นสากล จะมีการจัดทำเพิ่มเป็น 3 ด้าน 1. ความเป็นเลิศทางการศึกษาในการผลิตบัณฑิต 2. จัดการงานวิจัยเพื่อส่งเสริมตำแหน่งวิชาการ 3. เพื่อสร้างองค์กรอัจฉริยะโดยความสามารถของเจ้าหน้าที่วิทยาลัยนานาชาติ - จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนา สมถรรนะวิชาการ เช่น TNSC, RSU Speech Contest, ICT Hackathon, Business Pitching Competition - กิจกรรมด้านงานวิจัย ส่งเสริมให้อาจารย์เข้ารับงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย - ทีม Work Management by RIC staff กรรมการแต่งตั้งชุดต่างๆ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) เห็นชอบตามที่คณะประเมินตนเองไว้ใน SAR หน้าที่ 129 ว่าควรให้มีการจัดทำแผนพัฒนาวิทยาลัยที่ชัดเจนที่มีการกำหนดกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ และค่าเป้าหมาย ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต การจัดทำแผนพัฒนาวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มีการจัดตั้งคณะทำงานที่ประกอบด้วยตัวแทนจากคณาจารย์ บุคลากร และผู้บริหาร เพื่อให้การดำเนินงานมีความครอบคลุมทุกมิติ นอกจากนี้ ยังดำเนินการกำหนดโครงสร้างแผนพัฒนาให้ครอบคลุมในด้านต่างๆ เช่น การบริหารจัดการหลักสูตร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมถึงการจัดประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อให้ได้แนวทางที่ตอบโจทย์ความต้องการของวิทยาลัยอย่างแท้จริง การกำหนดกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ และค่าเป้าหมายที่ชัดเจนเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้แผนพัฒนามีประสิทธิภาพ โดยมีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ของวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ เพื่อกำหนดกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากนี้ ยังพยายามดำเนินการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนและค่าเป้าหมายที่สามารถวัดผลได้ ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ พร้อมทั้งมีการตรวจสอบและปรับปรุงแผนให้ทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงและความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานเป็นขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยให้วิทยาลัยนิเทศศาสตร์สามารถปรับปรุงแผนพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนพัฒนา รวมถึงการกำหนดตัวชี้วัด (KPIs) ที่ใช้ประเมินผลอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังจะสามารถนำผลการประเมินมาปรับปรุงแผนตามความจำเป็น จัดประชุมเพื่อแถลงนโยบายของวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ให้ชัดเจนและอัปโหลดสู่ระบบ รองคณบดีฝ่ายบริหารและกรรมการฝ่ายพัฒนาบุคลากรของวิทยาลัย
2) แผนพัฒนาบุคลากรควรเป็นแผนตาม format HRD กล่าวคือควรกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จในการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรเป็นรายบุคคลเป็นรายปี - ฝ่ายบริหารยกระดับจัดทำแผนพัฒนาบุคคล (IDP) โดยกำหนดในด้านการพัฒนาคุณวุฒิจากวุฒิ ป.โท ไปสู่ ป.เอก และส่งเสริมให้อาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการเพิ่มขึ้น - ขออนุมัติในการเพิ่มอัตรากำลังคนทั้งอาจารย์และเจ้าหน้าที่จากมหาวิทยาลัย - ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้ารับการอบรมกิจกรรม IDP (Individual Development Plan ) จัดขึ้นโดยมหาวิทยาลัย - ประชุมในวิทยาลัยเพื่อแจ้งอาจารย์ทราบ IDP รองคณบดีฝ่ายบริหารและกรรมการฝ่ายพัฒนาบุคลากรของวิทยาลัย
3) หากมีการนำรายงานการประชุมคณะกรรมการคณะชุดต่าง ๆ ขึ้นสู่ระบบ DBS ก็จะทำให้กรรมการประเมิน QA มองเห็นกระบวนการดำเนินงานตามแนวทาง PDCA เสริมกับการรายงานใน SAR ชัดเจนยิ่งขึ้น จะติดตามรายงานการประชุมทุกสาขา IB, ICT, MIDB และของวิทยาลัยเพื่อนำขึ้นสู่ DBS เพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบระบบได้อย่างชัดเจน กำหนดตารางประชุมและติดตามรายงานการประชุม รองคณบดีฝ่ายบริหารและกรรมการฝ่ายพัฒนาบุคลากรของวิทยาลัย