การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
วิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคม

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีกิจกรรมนักศึกษาจำนวนหลายโครงการสามารถพัฒนานักศึกษาตามผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 5 ด้านได้เป็นอย่างดี เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง (Active Learning) โดยสนับสนุนการเรียนรู้จากประสบการณ์เพิ่มมากขึ้น เช่น การทำโครงการ การจำลองเหตุการณ์ หรือกิจกรรมบริการสังคม เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนในสถานการณ์จริง รวมทั้งเน้นความหลากหลายในกิจกรรมที่ดำเนินการ โดยเน้นออกแบบกิจกรรมที่ตอบสนองต่อความต้องการและความสนใจของผู้เรียนรวมถึงผู้เข้าร่วม นอกจากนี้วิทยาลัยฯ วางแผนที่จะบูรณาการเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนความรับผิดชอบต่อสังคมต่อกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ที่ดำเนินการ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมเสนอและออกแบบกิจกรรมหรือโครงการมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างความเป็นเจ้าของและความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาเอง ซึ่งกิจกรรมทั้งหมดนี้ใช้วิธีการประเมินผลตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการใช้งบประมาณของมหาวิทยาลัย 1) โครงการสรรค์สร้างสังคมธรรมาธิปไตย 2) โครงการสานเสวนาส่งเสริมสิทธิในการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นธรรมสำหรับชุมชนประมงพื้นบ้านและเกษตรกรในโครงการแลนด์บริดจ์ จังหวัดชุมพร 3) โครงการเสวนา "เรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิต" 4) โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติ : พัฒนาศักยภาพนักศึกษา (Project_TQF) 5) โครงการพัฒนาภาวะผู้นำยุคใหม่ 6) โครงการพัฒนาทักษะ ศักยภาพและวิสัยทัศน์ผู้นำ (ศึกษาดูงานนอกสถานที่) 1) รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 2) รองคณบดีฝ่ายพัฒนาสังคมและความยั่งยืน
2) มีการบูรณาการระหว่างกิจกรรมกับรายวิชา วิทยาลัยมีนโยบายบูรณาการกิจกรรมเข้ากับรายวิชามากขึ้น เช่น รายวิชาหมวดศึกษาทั่วไป หรือ Gen.Ed. บูรณาการเข้ากับรายวิชารัก และรายวิชา Gen.Ed. ที่วิทยาลัยเป็นผู้รับผิดชอบ นอกจากนี้ยังรวมถึงโครงการต่าง ๆ ที่จะดำเนินการ จะต้องมีการบูรณาการเข้ากับรายวิชาด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น 1) โครงการสรรค์สร้างสังคมธรรมาธิปไตย (บูรณาการเข้ากับทุกรายวิชาเพื่อให้อาจารย์และนักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการดังกล่าว) 2) โครงการสานเสวนาส่งเสริมสิทธิในการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นธรรมสำหรับชุมชนประมงพื้นบ้านและเกษตรกรในโครงการแลนด์บริดจ์ จังหวัดชุมพร (บูรณาการเข้ากับรายวิชาการศึกษาผลกระทบทางสังคมของนักศึกษาระดับปริญญาโท) 3) โครงการเสวนาเรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิต (บูรณาการเข้ากับรายวิชารัก และรายวิชา Gen.Ed. ที่วิทยาลัยเป็นผู้รับผิดชอบ) เป็นต้น 1) โครงการสรรค์สร้างสังคมธรรมาธิปไตย 2) โครงการสานเสวนาส่งเสริมสิทธิในการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นธรรมสำหรับชุมชนประมงพื้นบ้านและเกษตรกรในโครงการแลนด์บริดจ์ จังหวัดชุมพร 3) โครงการเสวนา "เรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิต" 4) โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติ : พัฒนาศักยภาพนักศึกษา (Project_TQF) 5) โครงการพัฒนาภาวะผู้นำยุคใหม่ 6) โครงการพัฒนาทักษะ ศักยภาพและวิสัยทัศน์ผู้นำ (ศึกษาดูงานนอกสถานที่) รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา รองคณบดีฝ่านพัฒนาสังคมและความยั่งยืน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะด้านการประกันคุณภาพยังดำเนินการได้ไม่ชัดเจน วิทยาลัยให้ความสำคัญกับการสร้างความรู้พื้นฐานผ่านการจัดอบรมหรือกิจกรรมโครงการ เพื่อแนะนำเกี่ยวกับกระบวนการประกันคุรภาพและความสำคัญ โดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่เข้าใจง่าย หรือนำนักศึกษาเข้าอบรมเชิงปฏิบัติการกับสำนักงานประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพที่ถูกต้อง โครงการอบรมประกันคุณภาพ จัดโดย สำนักงานประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยรังสิต รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีทุนวิจัยจากภายนอกในจำนวนสูง วิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคม สร้างพันธมิตรกับองค์กรภายนอก เพื่อขอทุนสนับสนุนโครงการวิจัยที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย รวมทั้งพัฒนาศักยภาพนักวิจัยผ่านการจัดอบรมเขียน Proposal ให้ตอบโจทย์ผู้ให้ทุนสนับสนุน นอกจากนี้วิทยาลัยยังได้สร้างเครือข่ายนักวิจัยเพิ่มความแข็งแกร่งด้วยการส่งเสริมให้นักวิจัยเข้าร่วมงานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ยิ่งไปกว่านั้นยังได้สร้างความโดดเด่นให้วิทยาลัยด้วยการกำหนดความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน โดยการทำวิจัยที่วิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญ 1) จัดอบรมการเขียน Proposal เพื่อขอทุนสนับสนุนการวิจัย 2) ประชาสัมพันธ์แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย และแหล่งเผยแพร่งานวิจัย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
2) มีผลงานทางวิชาการจำนวนมากสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดและมีคุณภาพที่ดี ยังสามารถพัฒนาให้มีคุณภาพระดับสูงในวารสารระดับนานาชาติเพิ่มเติมได้ วิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคมพร้อมส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ สร้างเครือข่ายนักวิจัยทั้งภายในและภายนอกสถาบัน นอกจากนี้พร้อมให้การสนับสนุนทุนวิจัยผ่านกองทุนวิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคมแก่ประเด็นการวิจัยที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาสถาบันและประเทศชาติ ซึ่งมุ่งเน้นงานวิจัยที่ตอบโจทย์ปัญหาระดับสากลมากขึ้น เช่น ความยั่งยืนในหลายประเด็นที่เป็นที่สนใจ เป็นต้น และสนับสนุน รางวัลหรือการยกย่องสำหรับผลงานวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารที่มี Impact Factor สูง ทั้งหมดนี้เพื่อสนับสนุนระบบการผลิตผลงานวิจัยที่เป็นระบบ 1) อบรมการเขียนบทความวิจัย 2) ส่งเสริมการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เพื่อเรียนรู้แนวทางการนำเสนองานวิจัยที่มีคุณภาพ 3) จัดสรรงบประมาณสำหรับการทำวิจัยในประเด็นที่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4) ให้ความช่วยเหลือด้วยการมีนักวิจัยพี่เลี้ยง เพื่อคอยให้คำแนะนำ พร้อมสนับสนุนกระบวนการทำวิจัยให้บรรลุเป้าหมาย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) จำนวนอาจารย์ที่ขอทุนวิจัยยังมีจำนวนน้อย จัดอบรมการเขียนข้อเสนอโครงการ (Proposal) และเชิญผู้ทรงคุณวุฒิผู้มีความเชี่ยวชาญมาถ่ายทอดความรู้และแนวทางการเขียนข้อเสนอวิจัยที่ประสบความสำเร็จ และสนับสนุนการขอทุนเป็นทีม โดยส่งเสริมให้อาจารย์รวมตัวกันเป็นทีม เพื่อเพิ่มโอกาสในการได้รับทุนและแบ่งปันความเชี่ยวชาญ รวมถึงสนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่วมงานประชุมที่เกี่ยวข้องกับทุนวิจัย โครงการอบรมพัฒนางานวิจัย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายบริหาร

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) - รองคณบดีฝ่ายพัฒนาสังคมและความยั่งยืน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) วิทยาลัยควรจัดทำแผนการบริการวิชาการของตนเอง ทั้งที่เป็นโครงการของวิทยาลัยและการไปเข้าร่วมกับหน่วยงานอื่น วิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคม จัดทำแผนการบริการวิชาการของวิทยาลัยให้สอดคล้องแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเพื่อให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้จัดทำโครงการบริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานภานยอกมากขึ้น เช่น สสส. และพื้นที่หลักหก โครงการวิจัยในพื้นที่หลักหก รองคณบดีฝ่ายพัฒนาสังคมและความยั่งยืน
2) โครงการบางโครงการเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาทางวิชาการ แต่ยังไม่ใช่การบริการวิชาการที่จัดให้แก่สังคมหรือชุมชน วิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคม ปรับเปลี่ยนแผนการดำเนินโครงการมากกว่าการสร้างความรู้ความเข้าใจ วิทยาลัยให้ความสำคัญไปที่สังคมและชุมชนมากขึ้น เน้นการปฏิบัติจริงในพื้นที่เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนร่วมเชิงประจักษ์ 1) โครงการสรรค์สร้างสังคมธรรมาธิปไตย 2) โครงการสานเสวนาส่งเสริมสิทธิในการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นธรรมสำหรับชุมชนประมงพื้นบ้านและเกษตรกรในโครงการแลนด์บริดจ์ จังหวัดชุมพร 3) โครงการเสวนา "เรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิต" 4) โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติ : พัฒนาศักยภาพนักศึกษา (Project_TQF) 5) โครงการพัฒนาภาวะผู้นำยุคใหม่ 6) โครงการพัฒนาทักษะ ศักยภาพและวิสัยทัศน์ผู้นำ (ศึกษาดูงานนอกสถานที่) รองคณบดีฝ่ายพัฒนาสังคมและความยั่งยืน

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) - รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) วิทยาลัยควรจัดทำแผนเฉพาะในด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคม จัดทำแผนพัฒนาด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมระดับวิทยาลัยให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต พร้อมกำหนดกิจกรรมดำเนินการที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และนโยบายของมหาวิทยาลัย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภายนอกด้านด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมมากขึ้น 1) โครงการสรรค์สร้างสังคมธรรมาธิปไตย 2) โครงการสานเสวนาส่งเสริมสิทธิในการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นธรรมสำหรับชุมชนประมงพื้นบ้านและเกษตรกรในโครงการแลนด์บริดจ์ จังหวัดชุมพร 3) โครงการเสวนา "เรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิต" 4) โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติ : พัฒนาศักยภาพนักศึกษา (Project_TQF) 5) โครงการพัฒนาภาวะผู้นำยุคใหม่ 6) โครงการพัฒนาทักษะ ศักยภาพและวิสัยทัศน์ผู้นำ (ศึกษาดูงานนอกสถานที่) รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
2) ควรแสดงรายละเอียดของแต่ละโครงการให้ชัดเจนโดยเฉพาะตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จเพื่อให้ได้ผลการประเมินที่เป็นจริง จัดทำรายงานแผนปฏิบัติการประจำปีแต่ละโครงการให้ตรงตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด และแต่ละโครงการประเมินตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จเพื่อให้ได้ผลการประเมินที่เป็นจริง และตรงตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในโครงการ ทุกโครงการของวิทยาลัย รองคณบดีฝ่ายบริหาร

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีการกำกับติดตามงานประกันคุณภาพระดับคณะ/หลักสูตรที่มีคุณภาพ บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ กำกับติดตามงานประกันคุณภาพระดับคณะ/หลักสูตรให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ - รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรมีการนำผลการประเมินตามแผนพัฒนารายบุคคลมาเป็นแนวทางในการกำกับติดตามการดำเนินงานด้านการพัฒนาบุคลากร วิทยาลัยผู้นำและนวัตกรรมสังคม นำผลการประเมินตามแผนพัฒนารายบุคคลมาเป็นแนวทางในการกำกับติดตามการดำเนินงานด้านการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้เกิดการพัฒนาบุคลากรของวิทยาลัยสูงสุด กิจกรรมแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) รองคณบดีฝ่ายบริหาร