การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะบัญชี

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การบริหารจัดการหลักสูตรอยู่ในระดับดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจารย์ประจำคณะมีคุณภาพสูง ทั้งคุณวุฒิการศึกษาและตำแหน่งวิชาการ 1.การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตรให้สอดคล้องกับเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะบัญชี และแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องเชื่อมโยงพร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบ 2. เปิดโอกาสให้อาจารย์ประจำหลักสูตรได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน และกระจายความรับผิดชอบการดำเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ ตามแผนดำเนินงาน 3. มีแผนพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล ที่มีเป้าหมายสอคคล้องกับ KR ของยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ 4. หัวหน้าหลักสูตรกำกับติดตามการดำเนินงาน การประเมินผล โดยใช้เวทีการประชุมคณะกรรมการหลักสูตรเพื่อทำความเข้าใจในเป้าหมายและการดำเนินงานแบบทุกคนมีส่วนร่วม 5. คณบดีจัดให้มีการรายงานผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์กิจกรรมและโครงการ ในการประชุมกรรมการประจำคณะแลอาจารย์ประจำคณะ การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล โครงการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และวิจัย ของอาจารย์ประจำ คณบดี และรองคณบดีฝ่ายบริหาร
2) มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาที่มีความหลากหลายทั้งด้านวิชาการและการใช้ชีวิต ในระดับปรัญญาตรี จะแนวทาง Teach less Learn more เพื่อกระตุ้นทักษะการเรียนรู้ ด้วยการบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ลงในรายวิชา ในระดับปริญญาโท จะแนวทาง การวางแผนการสอนในวิชาการทบทวนวรรณกรรมกับวิธีวิทยาการวิจัย ให้มีความต่อเนื่อง สร้างบรรยากาศการแบ่งปันประสบการณ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้นเรียนกับอาจารย์ กิจกรรมการบูรณาการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ โครงการส่งเสริมความสามารถการแข่งขันของนักศึกษา โครงการเสริมทักษะทางวิชาชีพบนความร่วมมือกับองค์การภายนอก โครงการพัฒนาทักษะการพัฒนาหัวข้อและโครงร่างวิจัย หัวหน้าหลักสูตร ผู้อำนวยการหลักสูตร
3) แนวทางเสริม ควรพัฒนาโครงการอย่างต่อเนื่องในการยกระดับให้เป็นงานวิจัยและพัฒนา การสร้างโอกาสให้กับอาจารย์ในการทำวิจัยและพัฒนา โดยร่วมมือกับศูนย์พัฒนาหลักหก ในการเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในชุดต่างๆ ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาชุมชนในพื้นที่หลักหก และมีการให้ทุนสนับสนุุน โครงการบริการวิชาการ ที่มุ่งเป้าหมายการพัฒนาชุมชน รองคณบดีฝ่ายบริหาร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรถอดบทเรียน จากกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เพื่อนำไปสู่การเป็นต้นแบบสำหรับดำเนินกิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัย การถอดความรู้จากประสบการณ์ในการพัฒนานักศึกษา ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา กิจกรรมการจัดการความรู้คณะบัญชีเพื่อคัดเลือกแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนานักศึกษา การวิจัย คณะกรรมการจัดการความรู้

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) บุคลากรคณะบัญชีมีการนำเอา facility ที่มหาวิทยาลัยจัดสรรให้มาเป็นประโยชน์ในการพัฒนางานวิจัยของคณะได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การส่งเสริมและการให้การสนับสนุนแก่คณาจารย์ของคณะ ในการพัฒนาคุณภาพงานวิจัย และการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติและระดับชาต โดยมีการกำหนดเป้าหมายตามค่าคะแนนถ่วงนำ้หนัก เป็นเป้าหมายการพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล โครงการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และวิจัย ของอาจารย์ประจำ รองคณบดีฝ่ายบริหาร
2) คณบดีเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ สามารถเป็นผู้นำสร้างงาน วางแผนงานที่ปฏิบัติได้ และผลักดันการพัฒนาบุคลากรด้านวิจัย อย่างเป็นรูปธรรม การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร การสร้างบรรยากาศการช่วยเหลือเกื้อกูล และวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม ไม่มี คณบดี
3) คณะบัญชีมีคณาจารย์ที่สามารถสร้างงานวิจัยได้หลากหลาย ทั้งที่สามารถสร้างงานเดี่ยวและสร้างงานวิจัยแบบเครือข่ายทำให้เกิดการพัฒนางานวิจัยได้หลายมิติ นำสู่การพัฒนาบุคลากรด้านงานวิจัยได้อย่างถูกต้อง ให้ความเป็นอิสระในการสร้างงานวิจัย ตามศักยภาพของคณาจารย์ สนับสนุุนการทำงานวิจัยเป็นทีม โครงการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และวิจัย ของอาจารย์ประจำ คณบดี และรองคณบดีฝ่ายบริหาร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การสร้างทีมวิจัยเพื่อพัฒนางานวิจัยระดับนานาชาติ ทั้งการขอทุนวิจัยและการเผยแพร่ผลงาน ส่งเสริมการทำวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์ประจำ และระหว่างอาจารย์ประจำคณะบัญชี กับอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยอื่นทั้งในและต่างประเทศ 1.การวางเป้าหมายในการผลิตผลงานวิชาการเป็นรายบุคคล 2.การติดตามประเมินผลการพัฒนาตนเองของบุคลากรของคณะ 3.การแนะนำเครื่องมือ AI ในการแปลภาษาหรือปรับปรุงภาษาเขียนให้มีความเหมาะสมกับการเขียนทางวิชาการ คณบดี และรองคณบดีฝ่ายวิชาการ และรองคณบดีฝ่ายบริหาร

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) บุคลากรคณะบัญชีมีแนวคิดนำงานวิจัยและการเรียนการสอนมาใช้ในงานบริการวิชาการ เห็นความสำคัญของการพัฒนาชุมชน ใช้กิจกรรมเชิงบูรณาการระหว่างการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการเพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมกับอาจารย์ในการให้บริการวิชาการและนำไปสู่การวิจัยชุมชน กิจกรรมการบูรณาการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ หัวหน้าหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
2) วิชาการด้านบัญชี เป็นความรู้พื้นฐานที่สำคัญ เป็นพื้นฐานความรู้สำคัญสำหรับการดำรงชีวิต การส่งต่อความรู้ด้านบัญชีแก่ชุมชนจึงเป็นความสำคัญที่ช่วยพัฒนาคนอย่างแท้จริง การให้ความร่วมมือกับศูนย์พัฒนาหลักหก ในการดำเนินภาระกิจภายใต้โครงการร่วมทุนระหว่างสสส. กับ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. โครงการพัฒนาศักยภาพสร้างเสริมประสบการณ์เสริมสร้างสุขภาวะทางการเงิน สู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ ของนักเรียนระดับมัธยม โรงเรียนธัญบุรี 2.โครงการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการผ่านกิจกรรมธุรกิจจำลองให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดนาวง 1. ดร.ภัทรณัชชา โชติคุณากิตติ และ อ.พิมลวรรณ ตรีพัฒนสิทธิ์ 2. ดร.ศิระประภา ศรีวิโรจน์ และ อ.ปรมินทร์ งามระเบียบ
3) คณะบัญชีส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะ เป็นแกนหลักของการบริการวิชาการ สร้างเสริมแนวคิดการยกระดับคุณภาพสังคมให้กับเยาวชน จัดให้มีกิจกรรมการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ โดยให้นักศึกษาและอาจารย์ มีส่วนร่วม โครงการยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น กิจกรรรมบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ หัวหน้าหลักสูตรบัญชีบัณฑิต และ ผศ.เกศรา ผศ.อังสนา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การพัฒนาความรู้ให้กับชุมชนแบบต่อเนื่อง ติดตามผล เพื่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ด้านบัญชีครัวเรือนอย่างยั่งยืนในชุมชน สนับสนุนให้มีการทำโครงการบริการวิชาการวิชาการแบบให้เปล่า โดยมีแหล่งทุนภายนอก คือโครงการร่วมทุนระหว่างมหาวิทยาลัยรังสิตกับสำนักงานเสริมสร้างสุขภาวะ (สสส.) จำนวน 2 โครงการ 1. โครงการพัฒนาศักยภาพสร้างเสริมประสบการณ์เสริมสร้างสุขภาวะทางการเงิน สู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ ของนักเรียนระดับมัธยม โรงเรียนธัญบุรี อ.พิมลวรรณ ตรีพัฒนสิทธิ์ และ ดร.ภัทรณัชชา โชติคุณากิตติ 2.โครงการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการผ่านกิจกรรมธุรกิจจำลองให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดนาวง ดร.ศิรประภา ศรีวิโรจน์ และนายปรมินทร์ งามระเบียบ 1. อ.พิมลวรรณ ตรีพัฒนสิทธิ์ และ ดร.ภัทรณัชชา โชติคุณากิตติ 2. ดร.ศิรประภา ศรีวิโรจน์ และนายปรมินทร์ งามระเบียบ

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะให้ความสำคัญต่อกระบวนการในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ที่มีความครบถ้วนของ PDCA ทั้งในระบบและกลไกภายในคณะและการให้ความร่วมมือกับงานของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง การวางแผนดำเนินงานที่ครอบคลุมภาระกิจสถาบันการศึกษา โดยสอดคล้องเชื่อมโยงเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ภายใต้บริบทแผนงานสถาบันส่งเสริมศิลปและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต กิจกรรมการให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมโครงการด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
2) คณะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีกิจกรรมของการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย ในคณาจารย์และนักศึกษา ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและสังคม รวมถึงการเผยแพร่ผลงานผ่าน Social Media การสอดแทรกการสืบสานวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของคณะ ลงในกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ตามความเหมาะสม การจัดประชุมนักศึกษาน้องใหม่ ปี 1 พิธีปฐมนิเทศ พิธีปัจฉิมนิเทศ กิจกรรม Open House งาน Bye nior 2023 รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา และ คณะกรรมการนักศึกษา
3) คณะมีการบูรณาการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมในการเรียนการสอนของบางรายวิชา โดยการสอดแทรกเข้าไปในการเรียนการสอน ได้แก่วิชาหลักการบัญชีต้นทุน เป็นต้น หลักสูตร จะกำหนดรายวิชา ที่สามารถสอดแทรกการสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น ลงในเนื้อหารายวิชา และใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมไทยท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในรายวิชาการบัญชีต้นทุน และระบบสารสนเทศทางการบัญชี หัวหน้าหลักสูตรบัญชีบัณฑิต กับ ผศ.เกศรา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะมีการบริหารจัดการที่ปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้แก่การจัดภาระงานและความรับผิดชอบ ของบุคลากรสายสนับสนุน เป็นต้น ไม่มี ไม่มี คณบดี
2) คณะมีผู้นำที่เข้มแข็งและบริหารงานที่เป็นรายละเอียดของแต่ละพันธกิจของคณะอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังที่ได้พบความสำเร็จตาม OKR ของแต่ละยุทธศาสตร์ ไม่มี ไม่มี คณบดี
3) คณะมีการดำเนินงาน การประเมินและสรุปผลการประเมินเพื่อมีความต่อเนื่องในการปรับปรุง ซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยเฉพาะความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง และการจัดการความรู้ที่ครบถ้วนตามพันธกิจ ไม่มี ไม่มี คณบดี
4) คณะได้รับความสำเร็จในกระบวนการจัดการเรียนการสอน การจัดการระบบอาจารย์ที่ปรึกษา การบริหารจัดการงานวิจัย และการพัฒนาบุคลากร ดังแสดงเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ ได้แก่การได้รับรางวัลของคณาจารย์และนักศึกษา เป็นต้น ไม่มี ไม่มี คณบดี
5) ผู้บริหารของคณะบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วน ที่ส่งผลให้ผลประเมินของการปฏิบัติงานของบุคลากรทั้งในสายอาจารย์และสายสนับสนุนอยู่ในระดับดี ไม่มี ไม่มี คณบดี
6) คณะมีระบบกลไกและกระบวนการในการประกันคุณภาพการศึกษาของทั้งหลักสูตรและคณะที่ครบถ้วนในทุกขั้นตอนอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มี ไม่มี คณบดี
7) แนวทางเสริมจุดแข็ง - การพิจารณาประเด็นการไม่บรรลุเป้าหมายของตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ มาพัฒนามาตรการในการให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ต่อไป ส่งเสริมและสนับสนุนการทำผลงานวิชาการ ทั้งที่เป็นตำรา หนังสือ และการวิจัย กิจกรรมการทำวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์ที่ประสบการณ์กับอาจารย์ที่ไม่มีประสบการณ์ คณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) -