การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2567
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะบัญชี

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะได้จัดทำแผนการพัฒนานักศึกษาและการพัฒนากิจกรรมนักศึกษาที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วม โดยมีความครอบคลุมคุณลักษณะของนักศึกษาและบัณฑิตที่เป็นไปตามมาตรฐานระดับอุดมศึกษา ซึ่งสามารถเป็นต้นแบบแก่คณะอื่น ๆ ได้ แนวทางเสริมของคณะบัญชี มีดังนี้ 1. คณะได้ตั้งเป้าหมายในการพัฒนานักศึกษา ตาม KR ของแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ที่ 4 และที่ 5 นอกจากนี้ รวมถึงเป้าหมายผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการหลักสูตร คณะกรรมการกิจการนักศึกษาและวินัย คณะกรรมการวิชาการ วิจัย และกิจการต่างประเทศ 2. คณะกรรมการหลักสูตร คณะกรรมการกิจการนักศึกษาและวินัย คณะกรรมการวิชาการ จะประชุมวางแผนดำเนินงานกิจกรรม/โครงการ รองรับเป้าหมายดังกล่าว และบรรจุลงในแผนปฏิบัติการประจำปี 3. คณะได้ดำเนินการกำกับ ดูแล การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ การติดตามผลการดำเนินงาน โดยใช้การประชุมทั้งในระดับคณะกรรมการ และระดับคณะ วิชา คณะกรรมการวิชาการ วิจัย และกิจการต่างประเทศ กิจกรรม การจัดพานักศึกษาเข้ารับการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และดิจิทัลเทคโนโลยี การส่งเสริมให้นักศึกษามีปฏิสัมพันธกับนักศึกษาต่างชาติ โครงการ ความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพ การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของนักศึกษาในเวทีระดับชาติและนานาชาติ การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ สหกิจศึกษาและฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพบัญชี คณะกรรมการหลักสูตร กิจกรรม การบูรณาการการเรียนการสอน กับการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปและวัฒนา และการวิจัย ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้กับนักศึกษาโดยการบูรณาการกับการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ การส่งเสริมความสามารถด้านดิจิทัลเทคโนโลยี การบูรณาการการสอนกับกิจกรรมนานาชาติ โครงการ เสริมสร้างประสบการณ์ทางวิชาชีพและธุรกิจให้กับนักศึกษาและอาจารย์ พัฒนาทักษะวิชาชีพโดยความร่วมมือกับองค์การวิชาชีพ การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกงานหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะกรรมการกิจการนักศึกษาและวินัย กิจกรรม การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย การส่งเสริมนักศึกษาร่วมกิจกรรมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม กับมหาวิทยาลัย โครงการ การพัฒนาผู้นำนักศึกษาและกิจกรรมนักศึกษา คณะกรรมการหลักสูตร คณะกรรมการกิจการนักศึกษาและวินัย คณะกรรมการวิชาการ วิจัย และกิจการต่างประเทศ
2) คณะได้มีแผนการพัฒนาคณาจารย์เป็นรายบุคคลทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ดังจะเห็นได้จากหลากหลายกิจกรรมที่คณะได้มีไว้ให้กับการพัฒนาคณาจารย์ แนวทางเสริม มีดังนี้ 1. อาจารย์ประจำ ทุกคน จะต้องมีแผนพัฒนาตนเอง โดยระบุเป้าหมายการพัฒนาในแต่ละด้าน ตามที่คณะกำหนด 2. อาจารย์ประจำ ทุกคน คีย์ข้อมูลเป้าหมาย และแนวทางการพัฒนาตนเอง ในระบบ IDP ของมหาวิทยาลัย 3. คณะได้มีการประกาศแนวทางการส่งเสริมการพัฒนาตนเองของบุคลากร กิจกรรม การพิจารณา ตรวจทาน การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาตนเอง ให้สอดคล้องกับหน่วยนับของ KR ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะบัญชี การพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีของคณะ การส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการดำเนินงาน โครงการ การพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และวิจัยของอาจารย์ประจำ คณบดี และรองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะกรรมการจัดการความรู้ บริการวิชาการ และกิจการพิเศษ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะควรเสริมสร้างทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของคณาจารย์ เพื่อมุ่งสู่ความเป็นนานาชาติ แนวทางการพัฒนา มีดังนี้ จัดให้มีคณะกรรมการวิชาการ วิจัย และกิจการต่างประเทศ โดยกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับองค์การวิชาชีพ หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อนำไปสู่การทำวิจัยร่วมกัน การสัมมนาร่วมกัน กิจกรรม การส่งเสริมให้อาจารย์ประจำเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการในระดับนานาชาติ ทั้งที่จัดโดยคณะ มหาวิทยาลัยรังสิต หรือหน่วยงานภายนอก ทั้งในและต่างประเทศ โครงการ ความร่วมมือทางวิชาการ คณะกรรมการวิชาการ วิจัย และกิจการต่างประเทศ

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะมีความครบถ้วนและชัดเจนในระบบและกลไกในการบริหารงานวิจัย ที่ครอบคลุมตั้งแต่แผนพัฒนา และหลากหลายโครงการ/กิจกรรม รวมถึงเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารงานวิจัยและการทำวิจัย ซึ่งส่งผลให้คณะได้รับการประเมินผลการดำเนินงานในเรื่องการวิจัยอยู่ในระดับดีมาก แนวทางเสริม มีดังนี้ 1. คณะได้วางนโยบายในการส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัย โดยให้อาจารย์ทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ จะได้รับทราบภาระกิจของอาจารย์ประจำ และการทำผลงานให้เป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนาคณะบัญชี โดยกำหนดให้อาจารย์ทุกท่าน จะต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนาตนเอง ในด้านต่าง ๆ ตามที่คณะกำหนด โดยระบุหน่วยวัดให้สอดคล้องกับ KR ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ โครงการ พัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และวิจัย กิจกรรม การส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์ได้พัฒนาตนเอง คณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหาร
2) คณะให้ความสำคัญต่อการทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมภายนอก และการบูรณาการงานวิจับกับการสอน ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของบัณฑิต ได้แก่ การพัฒนาชุมชนหลักหก เป็นต้น ในปีการศึกษา 2567 คณะบัญชี ยังคงใช้แนวทางในการบริการวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน โดยพยายามจะทำให้สังคมและชุมชนได้รับประโยชน์ สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาตนเองก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยเข้าร่วมเสนอโครงการย่อยต่อศูนย์พัฒนาหลักหก มหาวิทยาลัยรังสิต และบูรณาการกิจกรรมย่อยภายใต้โครงการดังกล่าวเข้ากับการเรียนการสอนในรายวิชาที่เหมาะสม และได้รับอนุมัติทุนสนับสนุนจากโครงการร่วมทุนสสสกับมหาวิทยาลัยรังสิต โครงการ บริการวิชาการ แบบมีรายได้ พัฒนาทักษะผู้ประกอบการโดยผ่านกระบวนการธุรกิจจำลอง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดนาวง พัฒนาศักยภาพ สร้างเสริมประสบการณ์ ส่งเสริมอาชีพสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนธัญบุรี กิจกรรม การบูรณาการสอนกับกิจกรรมบริการวิชาการ คณะกรรมการจัดการความรู้ บริการวิชาการ และกิจการพิเศษ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะควรเสริมสร้างความเป็นนานาชาติในการทำวิจัย เพื่อส่งผลให้การวิจัยของคณะเข้าสู่ระดับสากล แนวทางการพัฒนา มีดังนี้ คณะได้ให้การ สนับสนุน ส่งเสริมอาจารย์ประจำ ให้นำเสนอผลงานวิจัย ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ หรือตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐาน SCOPUS ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกำหนด รวมทั้งให้มีการทำวิจัยเป็นทีม เพื่อพัฒนานักวิจัยไปพร้อม ๆ กัน โดยเป้าหมายการพัฒนาผลงานวิจัยจะถูกกำหนดไว้ในแผนพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล โครงการ การพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และวิจัย ความรู้ทางวิชาการ กิจกรรม การให้อาจารย์กำหนดเป้าหมายการพัฒนาตนเองในด้านผลงานวิชาการ การจัดให้มีกิจกรรมต่างประเทศ คณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะกรรมการวิชาการ วิจัย และกิจการต่างประเทศ

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะมีการบูรณาการแนวคิดที่ส่งเสริมนักศึกษาและบุคลากร ในการมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน จากการเรียนการสอนสู่งานบริการวิชาการ คณะยังคงใช้แนวทางการบูรณาการการสอนกับกิจกรรมการบริการวิชาการ โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 เนื่องจากนักศึกษาจะต้องมีความรู้ในหลักการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ในระดับที่เพียงพอที่จะนำไปใช้ในการมีส่วนร่วมในการจัดบริการวิชาการ นอกจากนี้ คณะยังเสริมสร้างประสบการณ์ในการจัดบริการวิชาการแก่นักศึกษาด้วย ซึ่งในแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2567 ได้มีการะบุรายวิชาในการจัดให้มีบูรณาการกับการบริการวิชาการลงในแผนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรม การบูรณาการการสอนกับกิจกรรมการบริการวิชาการ หัวหน้าหลักสูตร คณะกรรมการหลักสูตร และทีมงานโครงการบริการวิชาการ
2) คณะให้ความสำคัญกับวิชาการด้านบัญชี ในการลงพื้นที่ให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและชุมชน แนวทางเสริม มีดังนี้ ทางคณะจัดให้มีการบูรณาการการสอนกับการบริการวิชาการ โดยบรรจุลงในแผนปฏิบัติการ ซึ่งทางคณะกรรมการหลักสูตรจะต้องพิจารณารายวิชาที่เหมาะสม โดยคำนึงผลลัพธ์การเรียนรู้และประโยชน์ที่ผู้รับบริการทางวิชาการจะได้รับ กิจกรรม การบูรณาการการสอนกับการบริการวิชาการ หัวหน้าหลักสูตร และคณะกรรมการหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนรายวิชา
3) คณะให้ความสำคัญในการบริการวิชาการกับนักศึกษาเพื่อเป็นแกนนำสำคัญในการให้องค์ความรู้ จนเป็นที่ยอมรับขององค์กรภายในและภายนอก แนวทางเสริม มีดังนี้ ทางคณะ ยังคงใช้แนวทางในการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาแกนนำมีความสามารถในการให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสม โดยใช้เวที เปิดบ้าน หรือผ่านกระบวนการกิจกรรมต่างๆ ที่จะจัดให้มีขึ้น ตามแผนปฎิบัติการประจำปี กิจกรรม เปิดบ้าน Open house โครงการ ค่ายนักบัญชีรุ่นเยาว์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) พัฒนาสื่อการให้ความรู้ด้านการบัญชีที่ทำให้เข้าใจง่าย และสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้หลากหลาย ซึ่งจะส่งผลให้หลักสูตรของคณะบัญชีเป็นที่รับรู้ของสังคมภายนอกมากขึ้น แนวทางการพัฒนา มีดังนี้ คณะบัญชี จะใช้แนวทางในการให้บริการวิชาการ โดยกำหนดกลุ่มเป็นหมาย 3 กลุ่มใหญ่ คือ อาจารย์ในสาขาวิชาการบัญชี ผู้ประกอบวิชาชีพ และ นักเรียนในโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่หลักหกหรือใกล้เคียง ในการนำความรู้สู่สังคม และชุมชน รวมทั้งการสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักและยอมรับของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้นในการจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ความรู้ จะเป็นไปในลักษณะการอัดคลิปวิดีโอ และนำขึ้นเว๊ปไซต์ หรือส่งให้ผู้เข้าร่วมได้รับฟังโดยตรง นอกจากนี้ คณะบัญชี ยังส่งเสริมให้อาจารย์ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการขององค์กรภายนอก และมีการเผยแพร่ความรู้โดยมีอาจารย์ประจำเป็นวิทยากรผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โครงการ บริการวิชาการ แบบมีรายได้ กิจกรรม บูรณาการสอนกับกิจกรรมการบริการวิชาการ ร่วมจัดรายการ TAP NET TALK FOR INSTRUCTOR and ACCOUNTING COMMUNITY คณะกรรมการจัดการความรู้ บริการวิชาการ และกิจการพิเศษ หัวหน้าหลักสูตร และคณะกรรมการหลักสูตร คณบดี

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะมีกิจกรรม/และโครงการที่มีความต่อเนื่องในการทำงานร่วมกับทางมหาวิทยาลัยรวมถึงกระบวนการทำงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมได้อย่างครบถ้วน แนวทางเสริม มีดังนี้ คณะบัญชี ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรม/โครงการตามแผนปฏิบัติการของสถาบันส่งเสริมศิลปและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 กิจกรรม การบูรณาการการสอนกับการบริการวิชาการ การทำบุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และหรือการวิจัย การส่งเสริมนักศึกษาร่วมกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมกับมหาวิทยาลัย โครงการ พัฒนาผู้นำนักศึกษาและกิจกรรมนักศึกษา คณะกรรมการหลักสูตรบัญชีบัณฑิต รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา และคณะกรรมการกิจการนักศึกษา
2) คณะมีกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมให้กับบุคลากร/นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงโครงการ กิจกรรมที่ทางมหาวิทยาลัยเป็นผู้จัด ทั้งภายในและภายนอก <<<แนวทางเสริม>>> ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาชีพของคณะบัญชีที่สอดคล้องกับงานศิลปวัฒนธรรม ให้ก้าวเข้าสู่การเป็นแนวปฏิบัติที่ดีในระดับประเทศ คณะได้มอบหมายให้รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ได้นำไปพิจารณาแนวทางในการส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาชีพบัญชีที่สอดคล้องกับงานศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีในระดับประเทศ กิจกรรม การส่งเสริมให้อาจารย์ประจำได้เข้ารับตำแหน่งประธานอนุกรรมการ สาขาวิชาการ บัญชี ฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา ของสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แห่งประเทศไทย คณบดี
3) คณะมีการบูรณาการกิจกรรมสอดแทรกงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมให้ให้เข้ากับรายวิชา เรียนรู้ควบคู่ไปกับสังคมและชุมชน คณะได้กำหนดแนวทางการพัฒนานักศึกษาในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต โดยบูรณาการการสอนกับพันธกิจในด้านต่างๆ โดยให้ทางหลักสูตรได้พิจารณารายวิชาอย่างเหมาะสม เพื่อให้การดำเนินการสอนในเนื้อหารายวิชานั้นได้กลมกลืนสอดประสานกับความรู้ในด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมในพื้นที่ ซึ่งจะทำให้นักศึกษาซึ่งเป็นเยาวชนไทย ได้เรียนรู้สิ่งเหล่านี้ และมองเห็นแนวทางในการพัฒนาชุมชน หรือสังคมในวิ๔ีของนักศึกษา สาขาวิชาการบัญชี กิจกรรม การบูรณาการการสอนกับการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการวิจัย หัวหน้าหลักสูตร และคณะกรรมการหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) - - - -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะมีความครบถ้วนและมีประสิทธิภาพในการจัดทำกลยุทธ์และแผนพัฒนาที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของทั้งมหาวิทยาลัยรังสิตและคณะ รวมถึงความมีประสิทธิภาพในการนำความเชื่อมโยงจากแผนพัฒนาสู่การบริหารงานด้วยแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษาที่ปรับปรุงตามปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก เพื่อนำสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่คณะได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน ผู้บริหารคณะ โดยการนำของคณบดี จะต้องให้ความสำคัญต่อแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ คณบดี จำเป็นต้องใช้ความพยายามในการทำความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ของผู้บริหาร อาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน ที่เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนให้ประสบความสำเร็จและบรรลุเป้าหมาย นอกจากนี้ การกำกับดูแล การดำเนินงาน และการติตามประเมินผล จะต้องเป็นกลไกเสริมไม่ใช่่อุปสรรคของการทำงานของแต่ละฝ่าย เพื่อให้การดำเนินงานคณะเป็นไปอย่างราบรื่น กิจกรรม การให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการวางแผน จัดทำแผนทุกระดับ ให้สอดคล้องเชื่อมโยงไปสู่เป้าหมายการพัฒนาคณะ ประกาศใช้แผน ผู้บริหาร กำกับติดตาม การวางแผนดำเนินงานโครงการ กิจกรรม การติดตามประเมินผล การนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุง คณบดี รองคณบดี และหัวหน้าหลักสูตร
2) คณะได้จัดทำหลากหลายโครงการ/กิจกรรมเพื่อรองรับการดำเนินงานในการลดความเสี่ยงตามแผนบริหารความเสี่ยง รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างความสามารถตามความต้องการของบุคลากรและของคณะ ดังแสดงเป็นรายละเอียดของการวิเคราะห์และสังเคราะห์ในข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจากบุคลากรและนโยบายของคณะที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย การใช้หลักธรรมภิบาลในการบริหารคณะ ซึ่งหมายถึงการจัดการงานและการบริการทรัพยากรบุคคลในคณะบัญชี เป็นหลักการสำคัญในการบริหารความเสี่ยง โดยเฉพาะความเสี่ยงด้านแผนยุทธ์ศาสตร์ และความเสี่ยงการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความสามัคคีในการทำงานร่วมกัน สิ่งที่สำคัญที่จะใช้เป็นแนวทางเสริมในการบริการความเสี่ยงคือ การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างตรงไปตรงมา เพื่อให้รับทราบและร่วมกันแก้ไขปัญหาได้ กิจกรรม การพัฒนาบุคลากร การจัดให้มีการประชุมอาจารย์ประจำ การกำหนดให้คณะกรรมการชุดต่างๆ จัดประชุม วางแผน ดำเนินงาน และติดตามประเมินผล คณบดี และรองคณบดี และหัวหน้าหลักสูตร
3) คณะให้ความสำคัญในการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีทั้งในประเด็นการผลิตบัณฑิตและการพัฒนางานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการได้รับรางวัลดีเด่นหลายปีต่อเนื่อง แนวทางเสริม มีดังนี้ การใช้กระบวนการ PDCA และการจัดการความรู้ ในการดำเนินงานในแต่ละพันธกิจของคณะบัญชี ให้บรรลุเป้าหมาย KR ของแผนยุทธศาสตร์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ กิจกรรม การพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีของคณะ รองคณบดีฝ่ายบริหาร
4) คณะให้ความสำคัญอย่างดีเยี่ยมในการบริหารงานที่มีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลครบถ้วน 10 ข้อ โดยเฉพาะความสุขที่เกิดขึ้นในคณะ แนวทางเสริม การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการ โดยการทำเป็นแบบอย่างเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ถึงแนวทางการบริหารที่ควรจะเป็น ทั้งในสถานการณ์ที่ปกติ และไม่ปกติ กิจกรรม การจัดให้มีการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และเรียนรู้ปัญหา การแก้ไขปัญหาจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา การเปิดโอกาสให้มีการประเมินประสิทธิภาพการทำงานของผู้บริหาร การมีระบบสร้างขวัญ และกำลังใจ คณบดี
5) คณะให้ความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของคณะ เพื่อก้าวสู่การได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดีขึ้นไป แนวทางเสริม มีดังนี้ การทำให้การดำเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานคณะ การดำเนินงานของหลักสูตร โดยให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตั้งแต่การวางแผน การดำเนินงาน การติดตามประเมินผล การปรับปรุงการดำเนินงาน ทั้งนี้คณะจะต้องมีเป้าหมายการพัฒนาที่ชัดเจน กิจกรรม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพของคณะ การให้ผู้บริหารที่รับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละด้าน ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ได้เข้ารับการอบรม สัมมนา ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา คณบดี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะควรจัดทำมาตรการในการพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของคณาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุนและนักศึกษาให้เข้าสู่เป้าหมายตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย แนวทางการพัฒนา มีดังนี้ จัดให้มีคณะกรรมการวิชาการ วิจัย และกิจการต่างประเทศ โดยกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับองค์การวิชาชีพ หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อนำไปสู่การทำกิจกรรมทางวิชาการร่วมกัน กิจกรรม กิจกรรมต่างประเทศ ได้แก่ การจัดประชุมกับคณาจารย์ต่างประเทศ เพื่อแสวงหาความร่วมมือทางวิชาการ การส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมต่างประเทศ ที่จัดโดยหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย และหน่วยงานภายนอก รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และคณะกรรมการจัดการความรู้ บริการวิชาการ และกิจการต่างประเทศ
2) คณะควรจัดทำมาตรการในการให้การเผยแพร่งานวิจัยของคณาจารย์เข้าสู่ระดับสากลมากขึ้น แนวทางการพัฒนา มีดังนี้ คณะได้ให้การ สนับสนุน ส่งเสริมอาจารย์ประจำ ให้นำเสนอผลงานวิจัย ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ หรือตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐาน SCOPUS ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกำหนด รวมทั้งให้มีการทำวิจัยเป็นทีม เพื่อพัฒนานักวิจัยไปพร้อม ๆ กัน โดยเป้าหมายการพัฒนาผลงานวิจัยจะถูกกำหนดไว้ในแผนพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล โครงการ พัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และการวิจัย รองคณบดีฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการจัดการจัดความรู้ บริการวิชาการ และการวิจัย