การรายงานแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน [Improvement Plan] ของปีการศึกษา 2566
ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
และตามปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
คณะพยาบาลศาสตร์

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) มีหลักสูตรที่ได้รับการรับรองคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Register; TQR) หลายหลักสูตร ซึ่งแสดงให้เห็นถึงคุณภาพโดยรวมของทางคณะเป็นที่ยอมรับและเป็นไปตามมาตรฐาน ปรับปรุงหลักสูตรอย่างน้อยทุก 5 ปี หรือตามความเหมาะสมเพื่อให้มีความทันสมัยและตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สังคม และประเทศชาติ กิจกรรม: ปรับปรุงหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ (2565) เพื่อใช้ในปีการศึกษา 2567 โครงการ: สัมมนาหลักสูตรพยาบาลศาตรมหาบัณฑิตและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
2) มีระบบกลไก ในการดูแลให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา และมีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ผลการประเมินความพึงพอใจต่อระบบอาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ในระดับดีมาก (4.85 จาก 5) จัดให้มีโครงการพัฒนาอาจารย์/อาจารย์ที่ปรึกษาในด้าน - การให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา - การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - จัดให้มีอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ของคณะ โครงการพัฒนาอาจารย์: - การให้คำปรึกษา - การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและการเปลี่ยนจุดความคิด (Mindset) รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา / อาจารย์ที่ปรึกษา/รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) - - - -

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) อาจารย์มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารทั้งระดับนานาชาติและระดับชาติ และมีผลงานสร้างสรรค์ 1. จัดตั้งหน่วยพัฒนาผลงานวิชาการ วิจัย นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานวิชาการและสื่อการเรียนรู้ รวมทั้งร่วมกับฝ่ายวิชาการและวิจัยในการส่งเสริมการทำวิจัยของอาจารย์โดยการให้คำแนะนำ ปรึกษา และสนับสนุน 1. จัดประชุมวิชาการการใช้ CANVAs ในการทำสื่อการสอน/ นวัตกรรม 2. การพิจารณาโครงการวิจัย/นวัตกรรมของอาจารย์เพื่อขอรับทุนสนับสนุน คณะกรรมการพัฒนาผลงานวิชาการและวิจัย / รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) การมีหลักสูตร ปริญญาโท จะช่วยให้มีผลงานตีพิมพ์เพิ่มขึ้น อาจารย์ที่ปรึกษาควรกระตุ้นให้ นักศึกษาตีพิมพ์ผลงานอย่างน้อยระดับชาติ TCI1 ส่งเสริมการตีพิมพ์ของนักศึกษาปริญญาโทในวารสาร TCI1 ให้เพิ่มมากขึ้น โครงการ: พัฒนาสมรรถนะนักศึกษาบัณฑิตศึกษา - จัดทำแนวทางการส่งบทความตีพิมพ์ในวารสารและเผยแพร่ list รายชื่อวารสาร TCI 1 TCI 2 ให้นักศึกษาทราบ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ/ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) คณะมีการดำเนินการด้านบริการวิชาการอย่างเป็นระบบ และก่อให้เกิดประโยชน์กับชุมชนและสังคม รวมถึงบุคลากรและนักศึกษาด้วย กำกับ ติดตาม ให้มีการดำเนินการตามแผนบริการวิชาการอย่างต่อเนื่อง - หัวหน้าหน่วยบริการวิชาการ
2) คณะมีงานบริการวิชาการทั้งแบบให้เปล่าและแบบมีรายได้หลายโครงการ และผลจากงานบริการดังกล่าวสามารถบูรณาการร่วมกับการวิจัยก่อให้เกิดผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ - สื่อสาร/ ประสานงานกับผู้รับผิดชอบโครงการต่างๆ เช่น โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ ซุปเปอร์ อสม. โครงการ N&B โครงการพัฒนาตำบลหลักหก เพื่อบูรณาการโครงการบริการวิชาการร่วมกับการวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ผลงานวิชาการและส่งตีพิมพ์ - ประชุมปรึกษาหารือ ระหว่างหน่วยบริการวิชาการและหน่วยพัฒนาผลงานวิชาการและวิจัย เพื่อจัดทำแผนสร้างสรรค์ผลงานวิชาการเพื่อส่งตีพิมพ์ หัวหน้าหน่วยบริการวิชาการ/ หัวหน้าหน่วยพัฒนาผลงานวิชาการ วิจัย นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) - - - -

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์ร่วมกันสืบสานประเพณี/วัฒนธรรมให้แก่นักศึกษาในพิธีมอบหมวก และมอบแถบหมวก ซึ่งเป็นประเพณีที่เกิดความภาคภูมิใจในความสำเร็จ และวิชาชีพของตนเอง จัดพิธีมอบหมวก และมอบแถบหมวกอย่างต่อเนื่อง โดยมีการประเมินผล/ความคิดเห็นจากนักศึกษาและผู้ปกตรอง เพื่อนำมาปรับปรุง แก้ไข ให้เหาะสมกับยุคสมัยของวิชาชีพ เพื่อธำรางประเพณีให้สืบเนื่องต่อไป โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
2) คณะพยาบาลศาสตร์ได้สร้างกิจกรรมวัฒนธรรมวิชาชีพของกลุ่มประเทศอาเซียน และสากล นักศึกษาสามารถเลือกเรียนภาษาทางเลือกได้ถึง 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ ยังกำหนดให้นักศึกษาร่วมกันจัดกิจกรรมวันพยาบาลสากล เพื่อให้เห็นความสำคัญของภาษาในวิชาชีพการพยาบาล ในปีการศึกษา 2566 มีการปรับรูปแบบกิจกรรมวันพยาบาลให้สอดคล้องกับสถานการณ์โดยจัดทำเป็นโปสเตอร์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้กำลังใจบุคลากรทางการแพทย์ และนำเผยแพร่ในช่องทาง Social media ต่างๆ โครงการ: 1) ประสานความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ 2) พัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (2 ภาษา) และหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2565 รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา/ International Coordinator คณะพยาบาลศาสตร์/ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ควรจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม แยกออกจากแผนปฏิบัติการประจำปี โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ SWOT ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และอาจตั้งวัตถุประสงค์ของแผน เช่น 1) เพื่อส่งเสริมการจัดโครงการ/กิจกรรม และเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมในรูปแบบต่างๆ 2)เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม คณะกรรมการบริหารคณะ ร่วมกับ คณะกรรมการพัฒนานักศึกษา ปีการศึกษา 2566 ได้ประชุมระดมสมองเพื่อวิเคราะห์ SWOT ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อค้นหา จุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย หรือสิ่งที่อาจเป็นปัญหาสำคัญในการดำเนินงานสู่เป้าหมายที่ต้องการในอนาคต และจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม แยกออกจากแผนปฏิบัติการประจำปี โดยมีการจัดลำดับความสำคัญ และออกแบบรูปแบบกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อนำไปสู่การดำเนินงานอย่างเป็นระบบ - แผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม คณะกรรมการบริหาร / คณะกรรมการพัฒนานักศึกษา
2) ในการจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เมื่อกำหนดวัตถุประสงค์แล้ว ควรกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ หลังจากนั้น ทำการประเมินความสำเร็จตัวชี้วัดตามวัตุประสงค์ของแผนที่ตั้งไว้ ในแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่จัดทำขึ้นใหม่ มีการกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ของแผนเพื่อนำไปสู่การดำเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีการประเมินความสำเร็จตัวชี้วัดตามวัตุประสงค์ของแผนที่ตั้งไว้ มีการติดตามและประเมินผลการจัดโครงการ/กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ของแผนงานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม นำผลการประเมินและสรุปผลแต่ละกิจกรรม เพื่อปรับปรุงให้การดำเนินโครงการ/กิจกรรมในปีต่อไปมีคุณภาพยิ่งขึ้น และรายงานผลต่อผู้บริหาร/คณะกรรมการประจำคณะ - รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการบริหารคณะ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของคณะ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดำเนินการผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพ - - -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

# ปัญหา/อุปสรรค/ข้อคิดเห็นในปีที่ผ่านมา แนวทางการปรับปรุง/ พัฒนา โครงการ/ กิจกรรมที่รองรับ ผู้รับผิดชอบ
1) ในการกำกับ ติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพหลักสูตร ทางคณะควรร่วมกันหาแนวทางช่วยหลักสูตร ในประเด็นต่างๆ อาทิ การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อม การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เป็นต้น 1. คณะฯ โดยทีมบริหารมีหน้าที่ในการกำกับ ติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพของหลักสูตรในด้านอื่นๆ นอกจากการจัดการเรียนการสอนมาโดยตลอด รวมถึงการรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และเตรียมความพร้อมสำหรับสอบขึ้นทะเบียนขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และมีการทำงานร่วมกันกับหลักสูตรมาโดยตลอด ทั้งกรอบแนวคิด วิธีการ การจัดกิจกรรม และการประเมินผล เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง โครงการ: 1) การรับนักศึกษาใหม่ 2) โครงการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 3) ปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนเข้าเรียน 4) การพัฒนานักศึกษาด้านการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 5) โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ร่วมกับสภาการพยาบาล 6) โครงการเด็กยุคใหม่ไร้ควันบุหรี่ ทีมบริหาร คณะพยาบาลศาสตร์