รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต [ระบบการศึกษาทางไกลทางอินเทอร์เน็ต]

วันที่ประเมิน: 9 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน
1.อาจารย์เชฏฐ คำวรรณ
2.ดร.อนันต์ สันติภาพ
3.อาจารย์สุธีราภรณ์ แสงจันทร์ศรี
4.อาจารย์วศิน อุสันโน
5.อาจารย์นนลพัทธ์ พิตรพิบูลปรียา

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ และให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนตามเกณฑ์
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- จะครบกำหนด 5 ปี ในปีการศึกษา 2567  และการปรับปรุงหลักสูตร ปรับปรุงเพื่อใช้ในปี 2568
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 43 4.75
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 40
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.75
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลการดำเนินงาน ผลการประเมินคะแนนสุงมาก และจำนวนบัญฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมดสูงถึง ร้อยละ 93
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การอธิบายในผลการดำเนินงาน  ไม่สอดคล้องกับผลการประเมิน และจำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมิน  ไม่แน่ใจะว่าผู้ใช้บัณฑิตตอบแบบสอบถามจำนวนกี่คน ควรระบุตามจริง  เพราะที่ระบุ บัณฑิตที่ได้รับการประเมิน 40 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 43 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 40
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 5
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 10
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 10
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 15
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จากผลการสำรวจการมีงานทำ บัณฑิตได้งานทำ 100%
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.88 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไก เป็นระบบกลไกอันเป็นแนวการปฏิบัติอันดีที่ดำเนินต่อมาจากปีการศึกษาที่ 2564 ยังปีการศึกษาที่ 2565 นอกจากนี้ หลักสูตรได้พัฒนาการประชาสัมพันธ์เพื่อรับสมัครนักศึกษาอย่างตรงกลุ่มเป้าหมายและเพื่อให้ได้นักศึกษาที่มีคุณภาพตรงตามเป้าหมายเชิงคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษามากยิ่งขึ้น ตามข้อเสนอแนะของนักศึกษา  จากการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว ได้ส่งผลให้ผลการประเมินนักศึกษามีความพึงพอใจต่อระบบการรับนักศึกษามีคะแนนมากถึง 4.83  ในปีการศึกษาที่ 2565 ซึ่งสูงกว่าผลการประเมินความพึงพอใจในปีการศึกษาที่ 2564 ที่ได้ 4.80 คะแนน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จำนวนนักศึกษาใหม่น้อยกว่าแผนการศึกษา ควรมีปรับระบบและกลไกในการรับนักศึกษา เพื่อเพิ่มยอด
 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การดำเนินการกระบวนการเป็นการดำเนินการตามระบบกลไกที่เป็นแนวปฏิบัติอันดี ซึ่งปฏิบัติต่อเนื่องมาจากปีการศึกษาที่ 2564 อันเกิดจากการประชุมร่วมกันของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อปรับกระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษาให้มีคุณสมบัติและศักยภาพในการเรียนจนสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาเรียนตามแผนของหลักสูตร
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การดำเนินงานเตรียมความพร้อมยังไม่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
- ควรกำหนดเป้าหมายการเตรียมความพร้อม จากผลการประเมินในปีที่ผ่านมา หรือจากแหล่งข้อมูลที่หลักสูตรได้ผลมาใช้เป็นเป้าหมายการเตรียมความพร้อมให้ชัดเจน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแกนักศึกษาปริญญาตรี ประเมินกระบวนการ นำผลการปรับปรุงจากปี 2564 มาใช้ในปี 2565
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯ มีระบบ กลไก และกระบวนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และผลสำเร็จจากการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีนักศึกษาเข้าร่วมและได้รับการพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นจำนวนร้อยละ 85
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรกำหนดเป้าหมาย / แนวทางการพัฒนานักศึกษาให้ชัดเจนเพิ่มขึ้น
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- นักศึกษาสามารถได้เข้าไปมีการเข้าร่วมในการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ ผ่านศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย คณะนิติศาสตร์ คลินิกช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายและศูนย์กฎหมายและระงับข้อพิพาทอาเซียน คณะนิติศาสตร์ ในรูปแบบการเข้าเป็นผู้ช่วยศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ร่วมวิเคราะห์ประเด็นและเข้าเรียนรู้กระบวนการทำวิจัย และการเขียนผลงานทางวิชาการรูปแบบต่างๆ ผ่านทางการประชุมออนไลน์ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ของศูนย์ ดังกล่าว โดยหลักสูตรได้มีการจัดทำบันทึกข้อความเพื่อแจ้งประชาสัมพันธ์ศูนย์ต่างๆ แก่นักศึกษา
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ยังไม่เห็นข้อมูลปีการศึกษา 2565
เพิ่มเติมเป้าหมายการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาตามคุณลักษณะ/อัตลักษณ์ของหลักสูตร และ กำหนดแผนและดำเนินการตามเป้าหมายนั้น

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2552)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 9.10
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 18.20
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 12.30
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 6.80
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 14.50
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 5.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.79
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.81
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.85
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไก มีการนำไปปฏิบัติ มีการประเมินคุณภาพเกณฑ์และกระบวนการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรของปีการศึกษาที่ 2564 ที่ผ่านมา อันเป็นการทบทวนกระบวนการโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรฯ พบว่าอาจารย์ประจำหลักสูตรมีความพึงพอใจต่อเกณฑ์และกระบวนการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตรดังกล่าวว่ามีความเหมาะสมดีแล้ว รวมถึงทำให้ได้มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตามจำนวนและคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่เหมาะสมในการเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในปีการศึกษาที่ 2565 ต่อเนื่องมา
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบบการบริหารอาจารย์ ทางหลักสูตรฯ ได้มีการติดตามและสนับสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกท่านดำเนินการพัฒนาตนเองตามกำหนดกรอบเวลาการพัฒนาตนเองในระยะเวลา 5 ปี และ 3 ปี ตามลำดับ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรฯ ควรมีแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบจำนวน 5 ท่าน ในระยะเวลา 5 ปี ทั้งในเรื่องของแผนการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น แผนการพัฒนาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (การขอทุนวิจัย/การเขียนเอกสารตำรา) แผนการให้บริการทางวิชาการ เป็นต้น
- หน้า 44 ซึ่งจาการรายงานผลกลับมา พบว่ามีอาจารย์สำเร็จการศึกษาวุฒิปริญญาเอก 1 ท่าน คือ ดร.อนันต์ สันติภาพ และมีอาจารย์อีก 6 ท่าน อยู่ในการบวนการจัดทำผลงานเพื่อขอรับตำแหน่งทางวิชาการ ได้แก่ 1.ผศ.ดร.สัญญพงศ์  ลิ่มประเสริฐ  2.อ.นิดาวรรณ  เพราะสุนทร 3.อ.เชฏฐ  คำวรรณ 4.อ.สุธีราภรณ์  แสงจันทร์ศรี 5.ดร.สลิลา กลั่นเรืองแสง  6. อาจารย์นนลพัทธ์ พิตรพิบูลปรียา ควรระบุเฉพาะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการสนับสนุนให้อาจารย์ส่งผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น โดยขอความร่วมมือให้มีการแนะนำและสนับสนุนส่งเสริมของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาวิชาการและงานวิจัยด้านกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตซึ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ในปีการศึกษาที่ 2564 นี้ แก่อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกท่านเพื่อให้อาจารย์ในหลักสูตร ฯ มีความก้าวหน้าด้านคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้นและสนับสนุนให้อาจารย์ส่งผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้นผ่านการแนะนำและสนับสนุนส่งเสริมของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาวิชาการและงานวิจัยด้านกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตซึ่งจัดตั้งขึ้นในปีการศึกษาที่ 2564 เพื่อให้อาจารย์ในหลักสูตร ฯ มีความก้าวหน้าด้านคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรฯ ควรมีระบบและกลไกในการสนับสนุน และกระตุ้นให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้น มีตำแหน่งวิชาการ มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น
- นอบ. 4.1.06 แบบสรุปการเข้าร่วมอบรมของอาจารย์  ควรระบุเฉพาะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปีการศึกษา 2565 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 1 ท่าน คืออาจารย์อนันต์ สันติภาพ  คิดเป็นร้อยละ 20
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 1 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.40 2.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 8.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 2.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.33 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีการดำเนินงานครบทุกเรื่องตามนโยบายของผู้รับผิดชอบหลักสูตรและมีแนวโน้มที่ดีขึ้นในทุกด้าน  คือ การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 100% ตลอด 3 ปี และความพึงพอใขของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร มีแนวโน้มดีขึ้นตลอด 3 ปี 
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 100% ตลอด 3 ปี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ความพึงพอใขของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร มีแนวโน้มดีขึ้นตลอด 3 ปี 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.11 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

35
29
82.86
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
           หลักสูตรได้มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยสอดคล้องความต้องการการพัฒนาประเทศ โดยหลักสูตรได้มีการปรับปรุงหลักสูตรขึ้นใหม่ให้มีระบบคะแนนเก็บและมีรายวิชาที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์กับการปรับใช้กับการประกอบอาชีพต่างๆ ของผู้เรียนในปัจจุบัน รวมถึงมีการปรับปรุงสื่อการเรียนการสอนให้มีความทันสมัยในแง่การนำเสนอ นอกจากนี้การวัดผลยังต้องให้ได้ถึงคุณภาพของนักศึกษาที่มีความเป็นเป็นบุคคลผู้เรียนรู้ (Learner person) เป็นผู้ร่วมสร้างนวัตกรรม (Innovative Co-Creator) เป็นผู้มีความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) ซึ่งจากผลประเมินความพึงพอใจของบัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรอยู่ที่ 4.79 จากคะแนนเต็ม 5 โดยภายหลังจากการได้รับผลประเมินแล้วทางหลักสูตรได้มีการประชุมหารือและมีมติให้มีการปรับปรุงพัฒนาให้รายวิชาของหลักสูตร รวมถึงให้มีหลักสูตรประกาศนียบัตรและการอบรมกฎหมายระยะสั้นต่างๆ มีความทันสมัยและเป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของนักศึกษาในยุคปัจจุบันและอนาคตมากยิ่งขึ้น
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ทางหลักสูตรฯ มีการกำหนดสัดส่วนคะแนนเก็บ 30 คะแนน จากการเข้าเรียนในระบบและกิจกรรมต่างๆทางออนไลน์ในแต่ละรายวิชาเพื่อเพิ่ม Engagement ในการเรียนของนักศึกษาทางออนไลน์ และเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ในเนื้อหาวิชาอย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นกระบวนการที่กระทำต่อเนื่องมานับแต่ปีการศึกษาที่ 2564 ซึ่งจากการสำรวจนักศึกษาปัจจุบันมีความพึงพอใจกับระบบคะแนนเก็บ 30 คะแนน เป็นอย่างมาก เพราะลดความกดดันในการทำคะแนนสอบปลายภาคเพื่อให้สอบผ่านในรายวิชาดังกล่าว อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ทบทวนเนื้อหารายวิชานั้นๆ และลักษณะของกิจกรรมคะแนนเก็บมีลักษณะสอดคล้องกับการนำมาปรับใช้ในทางปฏิบัติในการประกอบอาชีพที่ต้องใช้ความรู้ของรายวิชาได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นอย่างยิ่ง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่เห็น KM ไม่ปรากฏ RKMS 
 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- รายวิชาที่มีการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย ตามความก้าวหน้าของศาสตร์สาขานิติศาสตร์  เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการใช้งานได้จริง ได้แก่วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ, กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา, กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1,กฎหมายอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์,กฎหมายเพื่อการบริหารและจัดการธุรกิจ,กฎหมายเกี่ยวกับการทำธุรกรรมผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯ ได้กำหนดให้ในการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาต่าง ๆ ผสมผสานกับการสร้างการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้งด้านการเป็นบุคคลผู้เรียนรู้ (Learner Person) , ผู้ร่วมสร้างนวัตกรรม (Co-Creative) และการเป็นผู้มีความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) โดยเน้นให้มีคุณลักษณะเด่นด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิดังกล่าวข้างต้นในแต่ละด้านอย่างเข้มข้นเป็นพิเศษสำหรับกลุ่มรายวิชาที่แตกต่างกันไป เพื่อให้สอดรับกับวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ฯ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯ ได้กำหนดผู้สอนให้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีความรู้ที่ทันสมัย เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้จริง จากผลการประเมินในปีการศึกษา 2564 เห็นว่าเป็นการกำหนดผู้สอนที่เหมาะสมแล้วไม่มีข้อคิดเห็นเบื้องต้นหรือการขอข้อมูลเพิ่มเติม หลักสูตรจึงดำเนินการกำหนดผู้สอนตามวิธีการที่กำหนดข้างต้น อันเป็นวิธีการที่ใช้ในปีการศึกษาที่ 2564 ต่อเนื่องมาในปีการศึกษา 2565 นี้ อันมีผลการดำเนินงานที่ดีอย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ในปีการศึกษา 2565ได้รับผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.79 โดยสูงขึ้นจากปีการศึกษาที่ 2564
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ถึงแม้ว่าใน ปี 64 ต่อ 65 การกำหนดผู้สอนที่คิดว่าเหมาะสมแล้ว หากเป็นผู้สอนท่านเดิม แต่ละท่านมีการเพิ่ม หรือ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไร 
 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- คณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจึงกำกับ ติดตามและตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบกลไกที่ปฎิบัติสืบเนื่องต่อมาหลายวงรอบ และมีการปรับปรุงพัฒนาเพิ่มเติมในปีการศึกษาที่ 2564 และ ปีการศึกษาที่ 2565
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำหนดให้รายวิชาดังต่อไปนี้มีการบูรณาการ การวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรมอย่างชัดเจน
                        2.1 หลักวิชาชีพและประสบการณ์นักกฎหมาย และ วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นรายวิชาที่มีการบริการวิชาการทางสังคม
                        2.2 วิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ และ วิชากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา เป็นรายวิชาที่มีการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
                        2.3 วิชากระบวนการยุติธรรมและระบบศาลไทย เป็นรายวิชาที่มีบูรณาการวิจัย
นอกจากนี้คณะได้จัดโครงการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายเพื่อให้เป็นพื้นที่การให้บริการวิชาการทางสังคมของอาจารย์ผู้สอน โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาภาคออนไลน์สามารถเข้าร่วมโครงการให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ ได้ อีกด้วย

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรอธิบายรายละเอียดเรื่องการบูรณาการการบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยเข้าไปในรายวิชากฎหมายและทรัพย์สินทางปัญญา ทำอะไร อย่างไร แล้วได้ผลอะไรที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต(ระบบการศึกษาทางไกลทางอินเทอร์เน็ต)มีระบบกลไกการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มเติมผลการประเมินในรูปแบบตาราง
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จากระบบกลไกดังกล่าวซึ่งได้ปฏิบัติสืบเนื่องต่อมา ได้รับผลการดำเนินการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ 2564 รวมถึงต่อเนื่องมาใน ปีการศึกษาที่ 2565 ทั้งในส่วนข้อสอบที่จัดทำขึ้นเพื่อประเมินผลการสอบปลายภาค และผลคะแนนการสอบปลายภาค อันได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ ซึ่งแต่งตั้งโดยมหาวิทยาลัย
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทำในวิชาอะไรบ้าง ทวนสอบอย่างไร ใช้วิธีการอะไร ได้ผลการทวนสอบอย่างไร เพิ่มเติมข้อมูลการประเมิน และ วิธีการตรวจสอบการประเมิน
 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- กระบวนการดังกล่าวเป็นระบบกลไกที่มีประสิทธิภาพดีแล้ว จึงมีการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติดังกล่าวต่อเนื่องมายังปีการศึกษาที่ 2564 และเนื่องด้วยเป็นกระบวนการที่มีความเหมาะสมแล้วจึงนำเอามาปรับใช้ต่อเนื่องมาในปี 2565 ต่อเนื่องต่อไป โดยในปีการศึกษา 2565 นี้ อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำตามกระบวนการของทางหลักสูตรดังกล่าว ทำให้หลักสูตรฯ  มีการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตรเพื่อไปใช้ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไปได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจาก มคอ.5 อาจารย์ผู้สอนมีข้อเสนอแผนการปรับปรุงให้ผลิตวีดีโอและคลิปเสียงในการจัดการเรียนการสอนที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นในปีการศึกษา 2565
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย ในการให้บริการทางกฎหมายสำหรับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป
มี Zoom Application ที่เพิ่มขึ้นจากการให้บริการจากส่วนกลางของมหาวิทยาลัย

- หลักสูตรมีการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาทำให้นักศึกษามีความพึงพอใจต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ ระดับคะแนน 4.75 จากคะแนนเต็ม 5  ซึ่งสูงกว่าในปีการศึกษา 2564 ซึ่งในปีการศึกษา 2565 ได้ดำเนินการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งได้ผลการประเมินความพึงพอใจของงอาจารย์ประจำรายวิชาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ ในระดับคะแนน  4.85  จากคะแนนเต็ม 5


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย ในการให้บริการทางกฎหมายสำหรับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป
มี Zoom Application ที่เพิ่มขึ้นจากการให้บริการจากส่วนกลางของมหาวิทยาลัย

- หลักสูตรฯ มีหลักการ เหตุผล โดยมีการปรับปรุงและเพิ่มเติมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพนักศึกษา โดยมีวิธีดำเนินการแยกเป็นกรณีได้ดังต่อไปนี้  
             1. ปรับปรุง Courseware ในระบบให้มีความทันสมัย  
             2. จัดทำระบบกลุ่มไลน์เฉพาะของแต่ละรายวิชา  
             3. ตั้ง Line Official ของหลักสูตรฯ
             หลักสูตรฯ ยังส่งเสริมและสนับสนุนสถานที่สำหรับให้นักศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้กฎหมายให้นักศึกษาเลือกใช้ได้ ดังต่อไปนี้  1. มีศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย (ห้องสมุดกฎหมาย)  2. มีศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย  3. มีคลินิกช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย  4. มีสถาบันประเทศไทย ต่อต้านการทุจริต แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต  5. มีการสนับสนุนจาก Cyber U เพื่อเพิ่มช่องทางการประสานงานและการติดต่อให้แก่นักศึกษาผู้เรียน  6. มีผู้ช่วยอาจารย์ เจ้าหน้าที่เฉพาะด้าน IT และเจ้าหน้าที่ประสานงานทั่วไป สนับสนุนการเรียนรู้ และให้ความช่วยเหลืออำนวยความสะดวกอยู่ประจำในกลุ่มไลน์หลัก Line Official

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ มีระบบในการดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลและการให้คำปรึกษาของคณะกรรมการบริหาร คณะนิติศาสตร์ โดยสามารถสรุปได้ว่า หลักสูตรฯ มีรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอแก่นักศึกษา ดังต่อไปนี้
            1. มีสื่อการสอนบทเรียนออนไลน์ในระบบมีความทันสมัย โดยปรับปรุงระบบ Backbone ให้มีความสามารถใช้ได้ในระบบปฏิบัติการ 
            2. มีสื่อการสอนบทเรียนออนไลน์ที่มีการปรับแก้ไขเนื้อหารายวิชาและรูปแบบการนำเสนอให้มีความทันสมัย ครบถ้วนทุกรายวิชาที่เปิดสอนของคณะฯ
            3. มีศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย (ห้องสมุดกฎหมาย) สำหรับนักศึกษาทุกหลักสูตรและทุกระดับชั้น รวมถึงประชาชน บุคคลทั่วไป จำนวน 1 ศูนย์
            4. มีศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย คณะนิติศาสตร์ จำนวน 1 ศูนย์
            5. มีคลินิกช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 1 ศูนย์           
            6. มีการสนับสนุนทางเทคนิคจาก Cyber U เพื่อเพิ่มช่องทางการประสานงานและการติดต่อให้แก่นักศึกษาผู้เรียนในด้านต่าง ๆ จำนวน 5 ท่าน
            7. มีการจัดตั้งไลน์กลุ่มของแต่ละรายวิชาเป็นการเฉพาะครบถ้วนทุกรายวิชาที่เปิดสอนของรายวิชาภายในและภายนอกคณะ ฯ จำนวน 50 กลุ่มไลน์
            8. เพิ่มการบรรยายสรุปในแต่ละวิชา นอกเหนือไปจากบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (LMS) เพื่อเพิ่มองค์ความรู้ และให้นักศึกษาผู้เรียน มีความเข้าใจในบทเรียนง่ายขึ้นและมากขึ้น ครบถ้วนทุกรายวิชาที่เปิดสอนของคณะฯ จำนวน 36 รายวิชาภายในคณะ
            9. มีศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย (ห้องสมุดกฎหมาย) สำหรับนักศึกษาทุกหลักสูตรและทุกระดับชั้น รวมถึงประชาชน บุคคลทั่วไป สามารถเข้าถึงกฎหมายต่างๆ ได้ โดยผ่านศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย 


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จากการปรับปรุงและเพิ่มเติมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ส่งผลต่อความพึงพอใจของนักศึกษาผู้เรียน โดยส่งผลลัพธ์ความพึงพอใจในสองรูปลักษณะ กล่าวคือ
          ประการที่หนึ่ง ความพึงพอใจจากการติดต่อประสานงานในรูปแบบทั่วไป หรือด้านธุรการ และด้านการตอบคำถามด้านเนื้อหาการเรียน ดั่งที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น โดยการสนับสนุนของ Cyber U ที่เข้ามาสนับสนุนด้านกิจกรรมทั่วไป ตั้งแต่ต้นทาง การติดต่อ โดยเฉพาะในเรื่องของการสมัคร หรือกรณีที่ทำหน้าที่เป็น System Administrator ได้คอยดูแล ตอบข้อสงสัย และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ระบบ LMS Down หรือไม่สามารถเข้า (Access) สู่ระบบได้ โดย Cyber U จะทำหน้าที่ดังกล่าว ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านเทคนิค ให้แก่นักศึกษา ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
          ประการที่สอง จากการเพิ่มอัตรากำลังผู้ช่วยอาจารย์ เจ้าหน้าที่ IT และเจ้าหน้าที่ประสานงานทั่วไป เพื่อทำหน้าที่ประสานงานกับนักศึกษา ผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประสานงานที่เกี่ยวกับความรู้ในบทเรียน อาจารย์ประจำหลักสูตรสามารถดำเนินการให้การสนับสนุนนักศึกษาได้อย่างเต็มที่ สามารถปิดช่องว่างด้านลบในเรื่องของช่องว่างระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และนักศึกษาผู้เรียนได้เป็นอย่างมาก โดยผลลัพธ์สามารถเห็นได้จากการติดต่อระว่างนักศึกษาผู้เรียนและหลักสูตรที่มากขึ้น ไม่ว่าจะผ่านระบบ LMS เอง หรือใช้ระบบการติดต่อสื่อสารทางช่องทางอื่น อาทิ Application ต่างๆ เป็นต้น


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มเติมข้อมูลการรายงานข้อมูลความพึงพอใจ ทั้งอาจารย์และนักศึกษาย้อนหลัง 3 ปี

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
********
- เพิ่มเติมข้อมูลหน้า 120 หมวดที่ 6 ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมิน 
- เพิ่มเติมข้อมูลหน้า 127  บทที่ 2 สรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมทุกองค์ประกอบ
- เพิ่มเติมข้อมูลหน้า 131 ภาคผนวก ก
- เพิ่มเติมข้อมูลหน้า 136 ภาคผนวก ข **************

 

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง และมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 1 ท่าน คืออาจารย์อนันต์ สันติภาพ รวมถึงมีผลงานทางวิชาการตามคุณสมบัติการเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
  2. หลักสูตรเป็นการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนเข้าถึงหลักสูตรได้ง่ายตลอดเวลา ทุกสถานที่ และสามารถทบทวนการเรียนได้ตลอดเวลา
  3. หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทางกฎหมายของคณะที่เข้มแข็ง เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นอย่างมาก
  4. หลักสุตรมีคะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 สูง เท่ากับ 4.75
  5. หลักสูตรทำสำรวจภาวะการได้งานทำของบัณฑิตภายในระยะเวลา 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา บัณฑิตได้งานทำ ร้อยละ 100
  6. การสำรวจความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 5 ท่านต่อการบริหารหลักสูตรมีแนวโน้มดีตลอด 3 ปี
  7. การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตลอด 3 ปี ร้อยละ 100 มีแนวโน้มดี

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรมีแผนการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นรายบุคคล ทั้งในเรื่องของ การศึกษาระดับที่สูงขึ้น การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร การขอทุนวิจัย การเขียนเอกสาร/หนังสือ/ตำรา เป็นต้น
  2. ควรกระตุ้นให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการอย่างสม่ำเสมอ และอยู่ในฐานข้อมูลที่สูงขึ้น
  3. ควรรับนักศึกษาให้มีจำนวนตามแผนการศึกษาที่กำหนดไว้
  4. อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา รหัส 60 - 62 มีแนวโน้มต่ำลง ทางหลักสุูตรควรหาแนวทางแก้ไขปัญหาการคงอยู่ของนักศึกษา
  5. อัตราการสำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ของนักศึกษา รหัส 60 - 62 มีแนวโน้มต่ำลง ทางหลักสุูตรควรหาแนวทางแก้ไขปัญหาการสำเร็จของนักศึกษา

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.75
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.33
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.62

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.88 4.88 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.11 - - 3.11 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 3.67 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.19 3.75 4.88 3.62 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก