รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต [ระบบการศึกษาทางไกลทางอินเทอร์เน็ต]

วันที่ประเมิน: 21 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. อาจารย์เชฏฐ คำวรรณ
  2. ดร.อนันต์ สันติภาพ
  3. อาจารย์ วศิน อุสันโน
  4. อาจารย์ นนลพัทธ์ พิตรพิบูลปรียา
ข้อคิดเห็น
1. ขอให้เพิ่มเติมข้อมูล  ผลงานวิชาการ ปีล่าสุด  ตามที่กำหนดไว้ในแบบรายงานฯ   

2. มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบ 4 ท่าน ผลงานหมดอายุในปี 2566 ซึ่งอาจารย์ทั้ง 4 ท่าน จะต้องผลิตผลงานเพิ่มและตีพิมพ์เผยแพร่ในปี 2567

อาจารย์ เชฏฐ คำวรรณ / ดร.อนันต์ สันติภาพ
มีผลงานย้อนหลังในรอบ 5 ปี รวม 1 ชิ้น หมดอายุปีการศึกษา 2566

เชฏฐ คาวรรณ สุภัทร รัตนารมย์และ อนันต์ สันติภาพ (2562). ข้อยกเว้นของพยานหลักฐานซึ่งต้องห้ามรับฟัง ในคดีอาญา. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2562.วันที่ 26 เมษายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต
อาจารย์ วศิน อุสันโน มีผลงานย้อนหลังในรอบ 5 ปี รวม 1 ชิ้น หมดอายุปีการศึกษา 2566
(1) สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ สุจินต์ เสนาแพทย์ รพีพร สายสงวนและ วศิน อุสันโน(2562). ยุติธรรมชุมชน: กระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคมไทย.งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจาปี 2562. วันที่ 26 เมษายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต.
อาจารย์ นนลพัทธ์ พิตรพิบูลปรียา มีผลงานย้อนหลังในรอบ 5 ปี รวม 1 ชิ้น หมดอายุปีการศึกษา 2566
(1) ศ.ดร.ประสิทธิ์ เอกบุตร, รศ.ดร.รัศฎา เอกบุตร, ดร.สลิลา กลั่นเรืองแสง, นนลพัทธ์ พิตรพิบูลปรียา Independence of Supreme Audit Institutions, งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจาปี 2562. วันที่ 26 เมษายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต.

3. อาจารย์ สุธีราภรณ์ แสงจันทร์ศรี ผลงานชิ้นแรก หมดอายุปีการศึกษา 2566 แต่ยังเหลือผลงานอีก 1ชิ้น ในปี 2564 
(1) สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ สุธีราภรณ์ แสงจันทร์ศรี และ อนิสา มานะทน (2562). การลงโทษผู้กระทา ผิดทางอาญา. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจาปี 2562. วันที่ 26 เมษายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต.
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- เพิ่มหลักฐานผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี ให้ครบทุกคน
- ระบุผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ปีล่าสุดในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในข้อย่อย 2 และ 3 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. อาจารย์ เชฏฐ คำวรรณ
  2. ดร.อนันต์ สันติภาพ
  3. อาจารย์ วศิน อุสันโน
  4. อาจารย์ นนลพัทธ์ พิตรพิบูลปรียา
ข้อคิดเห็น
แก้ไขเหมือนข้อ 2
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- เพิ่มหลักฐานผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี ให้ครบทุกคน
- ระบุผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ปีล่าสุดในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในข้อย่อย 2 และ 3 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 18 4.79
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 14
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.79
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 18 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 14
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 6
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 3
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 5
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
บัณฑิต ประกอบอาชีพหลากหลายและมีคุณภาพสุง  แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของการศึกษา ที่สามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ ทำธุรุกิจ   โดยไม่จำเป็นต้องทำงานในสายตรงกับสาขาวิชา

แนวทางเสริม
ควรนำข้อมูลเหล่านี้ เป็นส่วนหนึ่งของการประชาสัมพันธ์หลักสูตร  หรือจัดเวทีให้ผู้สำเร็จการศึกษา  ได้เสวนาร่วมกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบ  ในเรื่องราวเกี่ยวกับประสบการณ์การเรียนรู้ และการนำไปใช้ประโยขน์   

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
******ขอให้หลักสูตรทำความเข้าใจใหม่ว่า การสำรวจผู้สำเร็จ ให้สำรวจย้อนหลัง 1 ปี เช่น ปีนี้ตรวจประเมินปีการศึกษา 2566 จะต้องสำรวจ นศ.ที่จบในปีการศึกษา 2565 
ในปีหน้าเป็นการตรวจประเมิน ปีการศึกษา 2567 จะต้องสำรวจ นศ.ที่จบในปีการศึกษา 2566******
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.90 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1) หลักสูตรมีแผนรับ จำนวน 50 คน ซึ่งสามารถรับ นศ.เข้าได้มากกว่าแผนรับ แต่อย่างไรก็ตาม จำนวน นศ.คงอยู่ปลายปี มีจำนวนแตกต่างจากจำนวน นศ.เข้าค่อนข้างสูง
2) มีการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกนักศึกษาที่ชัดเจน "คณะกรรมการคัดเลือกนักศึกษาของหลักสูตรทาการพิจารณาคุณสมบัติพื้นฐานของผู้สมัครจากใบสมัคร และการสัมภาษณ์รายบุคคล เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติ ความพร้อม และความถนัดของผู้สมัครว่ามีความสนใจการศึกษาวิชากฎหมาย มีแนวโน้มนำเอากฎหมายไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือในการดำรงชีวิตอย่างแท้จริง มีความเหมาะสมทางปัญญา สุขภาพกาย และจิต มีความมุ่งมั่นที่จะเรียนและมีเวลาเรียนเพียงพอเพื่อให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด" (หน้า 28) 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจจะเพิ่มการประชาสัมพันธ์ให้คนรุ่นใหม่ นักศึกษา นักเรียนเห็นความสำคัญของความรู้ด้านกฎหมายเพื่อให้เข้ามาเรียนเพิ่มขึ้น
 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1) ข้อมูลการนำเสนอการเตรียมความพร้อม ควรกำหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ในการเตรียมความพร้อม สำหรับนักศึกษาออนไลน์ / อาทิ กระบวนการเรียนการสอน อุปกรณ์ เครื่องมือ และข้อเสนอนแนะสำคัญโดยให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่หลักสูตรฯ ต้องการเตรียมความพร้อมฯ 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจเพิ่มกิจกรรมที่น่าสนใจแก่คนรุ่นใหม่ นักเรียน นักศึกษา เพื่อกระตุ้นให้เกิดความสนใจในการเรียนกฎหมาย

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรนำผลการดำเนินการที่เป็นจุดเด่นมาประเมินเพื่อนำไปสู่การพัฒนา
1) การดูแลนักศึกษาที่ทำงานแล้ว / นศ.ในระบบออนไลน์ แนวทางการควบคุมดูแล และให้คำปรึกษา อาจแตกต่างจาก ป.ตรี ปกติ  หลักสูตรฯ อาจเพิ่มข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่า ถึงแม้จะเป็นแบบออนไลน์ก็สามารถดูแลได้ด้วยดี 
2) การดูแลนักศึกษาที่รับเข้ามาจำนวนมาก (เกินจากแผนรับ) ควรมีการกำหนดแนวทางการดูแลส่งเสริม โดยเฉพาะความรู้ ความสามารถด้านไอที ที่เป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุนการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาออนไลน์ การดูแลนักศึกษาต้นปี กับ ปลายปี ที่รับเข้าในแต่ละปี ซึ่งพบว่ามีอัตรคงอยู่ในหลักสูตรจำนวนลงลงอย่างมาก เช่นในปี 2565 รับเข้า 56 พอขึ้น ปี 2 เหลือ 22 คน เป็นต้น 

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรจะมีการจัดเสวนาในหัวข้อที่มีความหลากหลายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวางมากขึ้น

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรจัดให้มีการพัฒนานักศึกษาให้สร้างผลงานอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างขึ้นมา

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2552)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 52.73
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 69.86
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 81.44
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 14.55
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 5.48
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 23.71
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ต้องพยายามติดตามการเรียนของนักศึกษาเป็นรายบุคคล   และมีระบบและกลไกในการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษาโดยดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ
 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.81
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.85
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.86
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้เพิ่มหลักฐานแบบนี้ทุกปี ให้ชัดเจน คณะกรรมการคาดหวังว่าปีหน้าจะมีหลักฐานตั้งแต่ตรวจครั้งแรก และหลักฐานชัดเจน ตรวจสอบง่าย
1.จำนวนสำเร็จการศึกษา และการคงอยู่ของนักศึกษา
2.ความพึงพอใจที่เฉลี่ยคะแนนแต่ละด้าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ส่งเสริมให้อาจารย์ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ให้สัดส่วนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเพิ่มขึ้น
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ต้องมีแผนงานการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และมีมาตรการส่งเสริม   พร้อมระบบและกลไกในการติดตามประเมินผล
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.00 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ควรให้อาจารย์สร้างสรรค์ผลงงานวิจัยเพื่อนำเสนอหรือได้รับการตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานต่างๆ
2.ควรพัฒนาและปรับปรุงให้อาจารย์ทุกคนทำผลงานทางวิจัย เพื่อเผยแพร่ในรูปแบบใด รูปแบบหนึ่งเพิ่มขึ้นอย่างเร่งด่วน


 
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 1.67 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.87
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.88
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.49
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แม้ว่าจะมีผลการประเมินความพึงพอใจในระดับสูง   ซึ่งสะท้อนถึงการบริหารงานและการส่งเสริมอาจารย์ที่ตรงกับความต้องการของอาจารย์   แต่ผลการประเมินในด้านคุณภาพอาจารย์ ยังอยู่ในระดับต่ำมาก  จึงขอเสนอให้ใช้โอกาสที่ทุกท่านมีความพึงพอใจสูงต่อการบริหารพัฒนาอาจารย์  เชิญทุกท่านมาประชุมหารือกันในการช่วยกันพัฒนาคุณภาพอาจารย์ให้ได้ตามเกณฑ์  
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:


 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

35
29
82.86
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีระบบและกลไกในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร  รวมทั้งการปรับปรุงเนื้อหาการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านกฎหมาย และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อผลลัพธ์การเรียนรู้  โดยได้นำความคิดเห็นของนักศึกษาจากการติตดามประเมินผลความพึงพอใจและความเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอน ประกอบการการมอบหมายให้อาจารย์แต่ละท่านดำเนินการปรับปรุงการสอนให้ทันสมัย  จนทำให้หลักสูตรนิติศาสตร์เป็นหลักสูตรมีความสอดคล้องกับคุณลักษณะผู้เรียนในระบบการศึกษาทางไกล  
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร  รวมทั้งการปรับปรุงเนื้อหาการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านกฎหมาย และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อผลลัพธ์การเรรียนรู้  โดยได้นำความคิดเห็นของนักศึกษาจากการติตดามประเมินผลความพึงพอใจและความเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอน ประกอบการการมอบหมายให้อาจารย์แต่ละท่านดำเนินการปรับปรุงการสอนให้ทันสมัย  จนทำให้หลักสูตรนิติศาสตร์เป็นหลักสูตรมีความสอดคล้องกับคุณลักษณะผู้เรียนในระบบการศึกษาทางไกล  
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีการวิเคราะห์รายวิชาต่างๆ ที่เปิด เพื่อให้มีการนำมาปรับเปลี่ยนให้ทันสมัย
 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรปรับให้มีกิจกรรมที่น่าสนใจ เพื่อให้การเรียนการสอน เป้นการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีการวิเคราะห์รายวิชาต่างๆ ทีเปิดในแต่ละภาคการศึกษาเพื่อให้สามารถนำไปใช้งานได้จริง

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจจะมีการจัดการเรียนการสอนแบบทีม เพื่อให้อาจารย์ที่มีความรู้ ความสามารถดีอยู่แล้ว เข้าไปช่วยเติมเต็มให้แก่นักศึกษาได้
 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ มีการดำเนินงานบริการวิชาการเพื่อสังคม  แต่อย่างไรก็ตาม เพิ่มเติมรายงานข้อมูลโครงการบริการวิชาการ ที่แสดงว่า การบริการนั้น มีการวางแผนจากความต้องการของสังคม ผู้ได้รับประโยชน์ หรือ ผลสำเร็จที่เกิดขึ้น 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.การบูรณาการการสอนกับการบริการวิชาการ   ผู้ที่ได้ประโยชน์จากกิจกรรมดังกล่าว  จะต้องมีนักศึกษา  และผู้รับการบริการวิชาการ   ทางหลักสูตรควรรายงานให้ชัดเจน  และตรงประเด็น
2.ควรส่งเสริมอาจารย์ทำงานวิจัยเพิ่มขึ้น เพื่อนำผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนเพื่อให้ประสิทธิภาพสูงขึ้น


 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หน้า 105  "....โดยหลักสูตรได้ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในกระบวนดังกล่าวของปีการศึกษา 2566 เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ว่ากระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวนการที่มีความเหมาะสมควรนำมาใช้ปฎิบัติต่อเนื่องต่อไปในปีการศึกษา 2567 ต่อไปอย่างไร..."  หลักสูตรฯ อาจเพิ่มเติมข้อมูลการดำเนินการในกระบวนการดังกล่าว   หรืออาจกำหนดเป้าหมาย / เกณฑ์การวัดที่ชัดเจนสำหรับหลักสูตร ที่สามารถวัดได้ในเชิงปริมาณหรือ เชิงคุณภาพ ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ใน 3 ด้าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การรายงาน  ควรระบุเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์การเรียนรุ้ ทั้ง 5  ด้าน  และการเชื่อมโยงกับ ผลลัพธ์ผู้เรียน  ตามที่หลักสูตรกำหนด
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ ที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก  ที่ทำหน้าที่ในการพิจารณาคุณภาพและความเหมาะสมของข้อสอบ   นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาสามารถสอบถามติดตามผลการประเมินการเรียนรู้

แนวทางเสริม
ปรับเครื่องมือ และวิธีการในการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้  เพิ่มเติมนอกเหนือจากข้อสอบ   เพื่อให้เหมาะสมกับจำนวนนักศึกษา และการลงทะเบียนเรียน  ซึ่งจะเห็นว่า  มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน 1 คนในรายวิชาตามที่รายงาน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจเพิ่มเติม จำนวนครั้งในการประชุมในปี 2566 ในกล่องข้อมูลผลการดำเนินงานฯ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
.
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
.
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
.
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
.
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
.
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรวางแผนและดำเนินการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสุตร ด้านวิชาชีพ  และวิชาการ   
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แนวทางเสริม
ควรให้บุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาด้านต่างๆ
แนวทางปรับปรุง
ให้บุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาในด้านต่าง ๆ เพื่อที่จะได้นำมาใช้ในการทำงานให้หลักสูตรมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
.
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.79
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
.
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.มีระบบและกลไกในการดำเนินการจัดหา ดุแล  ปรับปรุง  เพื่อให้หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่จำเป็น  ในปีนี้ได้มีการปรับปรุงในส่วนของการบริการ รวมทีั้งสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์  และนักศึกษามีความพึงพอใจมาก
2.มีการประสานกับ Cyber U เพื่อสนับสนุนการเรียนในระบบออนไลน์ของหลักสูตร และ สร้าง Application เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอน
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบและกลไกในการดำเนินงานสิ่งสนับสนุนและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในระบบการศึกษาทางไกล และเปิดโอกาสให้นักศึกษาสามารถติดต่อเข้าใช้ผ่านระบบออนไลน์ได้เป็นอย่างดี
แนวทางเสริม
เพิ่มมาตรการกระตุ้นให้นักศึกษาในหลักสูตรได้เข้าใช้สิ่งสนับสนุุนเหล่านี้ เช่น งานที่มอบหมายให้นักศึกษาทำในรายวิชาต่างๆ  เชื่อมโยงกับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มี 


มีการประสานกับ Cyber U เพื่อสนับสนุนการเรียนในระบบออนไลน์ของหลักสูตร และ สร้าง Application เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอน
มีการเพิ่มอัตรากำลัง ผู้ช่วยอาจารย์ เจ้าหน้าที่ ไอที ของหลักสูตรฯ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนและให้บริการกับ นักศึกษาผ่านระบบออนไลน์

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีการอธิบายรายละเอียดต่างๆ ให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม หากต้องการคะแนน 4
 
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ที่เหมาะสมและทันสมัย   

แนวทางเสริม
ควรมีการติตตามและประเมินผล  การเข้าใช้บริการ  จำแนกตามสิ่งสนับสนุุนที่ทางหลักสูตรจัดให้มีเพื่อบริการนักศึกษา

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ต้องอธิบายรายละเอียดต่างๆ ให้ชัดเจนตั้งแต่กลไก จนถึงการนำผลการประเมินมาปรับปรุง
 
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรให้ความสำคัญต่อความคิดเห็นของนักศึกษา  และมีการปรับปรุงเพื่อให้การบริการดีขึ้น

แนวทางเสริม
ควรเพิ่มข้อมูลในแบบสอบถามเกี่ยวกับความถี่ในการเช้าใช้บริการ  และสิ่งสนับสนุนที่นักศึกษาเข้าใช้เป็นจำนวนมาก  คืออะไร

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม ให้ชัดเจน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรนิติศาสตร์ ระบบการศึกษาทางไกล มีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์มากกับทุก ๆ คน ซึ่งคณะกรรมการหลักสูตรมีเป้าหมายชัดเจนในการรับนักศึกษา
  2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิตรงทุกคนและมีประสบการณ์สูง
  3. มีคณาจารย์ที่มีคุณวุฒิตรง และมีอัตราคงอยู่ดีต่อเนื่อง มีจำนวนนักศึกษาให้ความสนใจสมัครเข้าเรียนในหลักสูตรจำนวนมาก มีการกำหนดอาจารย์ผู้ช่วย เพื่อสนับสนุนการเรียนของนักศึกษา มีการสนับสนุนด้านไอที ให้กับอาจารย์ผู้สอน มีการประสานงานกับหน่วยงาน Cyber U เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการเรียนการสอน

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ด้านคุณภาพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ---(แนวทางปรับปรุง)--- ควรทบทวนระบบและกลไกการบริหารและพัฒนาส่งเสริมอาจารย์ และกำหนดเป้าหมาย แผนการส่งเสริมที่มุ่งสู่การบรรลุเป้าหมายอย่างจริงจัง โดยมีระบบการติดตามประเมินผลเป็นระยะ ทั้งนี้ควรมุ่งเน้นการผลิตผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ เพื่อเข้าสู่การขอตำแหน่งทางวิชาการ รวมทั้งการส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบ พัฒนาคุณวุฒิในระดับที่สูงขึ้น
  2. ผลลัพธ์เชิงประจักษ์การจัดการเรียนการสอน ในระบบการดูแลให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษายังไม่ชัดเจน ---(แนวทางปรับปรุง)--- ควรทบทวนแนวทางการจัดแผนการศึกษา การปฐมนิเทศ การทำหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา กิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนตามแผน และเรียนสำเร็จในรอบระยะหลักสูตรให้มากขึ้น
  3. ระบบและกลไกในการเพิ่มจำนวนนักศึกษาในแต่ละชั้นปี ยังไม่มีผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจ ---(แนวทางปรับปรุง)--- ควรทบทวนระบบและกลไก การประชาสัมพันธ์ กระบวนการรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนเรียน เพื่อให้สามารถรับนักศึกษาได้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่ชี้ให้เห็นความพร้อมในระบบการดูแลนักศึกษา ผลงานความสำเร็จของผู้สำเร็จการศึกษา จัดรายการ Talk ผ่านสื่อโซเชียลโดยให้ศิษย์ปัจจุบันและศิษย์เก่ามีส่วนรวม เป็นต้น
  4. ปรับปรุงการเรียนการสอนในด้านการเพิ่มกิจกรรมและนำความรู้ที่ได้จากงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการเรียน การสอน
  5. คุณภาพของการสอน ควรรายงานให้ตรงกับความเป็นจริง ต้องเป็นผลการประเมินโดยนักศึกษาในหลักสูตร

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.79
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 2.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 2.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 1.67
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 2.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 2.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.04

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.90 4.90 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 2.67 - - 2.67 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 2.22 - - 2.22 ระดับคุณภาพปานกลาง
5 4 3.00 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 2.52 3.00 4.90 3.04 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดีมาก