รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารการแสดง

วันที่ประเมิน: 21 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์วชิรวิชญ์ จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามเกณฑ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์วชิรวิชญ์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบ 5 คน มีคุณวุฒิตรงและคุณวุฒิสัมพันธ์ โดยทุกคนมีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีอาจารย์ประจำหลักสูตรครบ 5 คน มีคุณวุฒิตรงและคุณวุติสัมพันธ์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ขอให้พัฒนาจำนวนผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพิ่มเติม ดังนี้
- อ.พรทิพย์ ประเสริฐยิ่งสุข มีผลงานจำนวน 3 ชิ้น
- ผศ. ดร.เธียรชัย มีผลงานจำนวน 2 ชิ้น
- อ.อรรจน์ มีผลงานจำนวน 1 ชิ้น
- ดร. ขวัญชนก มีผลงานจำนวน 4 ชิ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์วชิรวิชญ์ อาจารย์ผู้สอนมีคุณวุฒิตรงและคุณวุติสัมพันธ์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์วชิรวิชญ์ การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 17 4.61
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 10
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.61
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 2) ผุ้ร่วมสร้างนวัตกรรม 4.51 คือ ระดับมากที่สุด
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรพัฒนาคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ด้านความรู้และด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีผลสูงขึ้นในระดับมากที่สุด และผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 ด้านผู้ร่วมสร้างนวัตกรรมให้มีผลสูงขึ้นในระดับมากที่สุด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 17 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 17
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 7
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 7
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 3
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ แนวทางเสริม ควรแนะนำบัณฑิตที่ยังไม่ได้งานทำให้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์ภูร ในข้อมูลผลการดำเนินงาน​ (หน้า​15) อาจมีการระบุอัตราร้อยละของบัณฑิต​ที่ทำงานในองค์กร​และประกอบอาชีพ​อิสระคลาดเคลื่อน​
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.81 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ธิราภรณ์ มีกระบวนการรับนักศึกษาที่พัฒนาจากปี 2564 ที่ขาดการประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจในหลักสูตร แต่ปี 2565 ได้มีการเตรียมการและมีระบบกลไลในประเด็นนี้ชัดเจนขึ้น
อาจารย์ภูร การประชาสัมพันธ์​ผ่านทางเพจของสาขา​ โดยการใช้รูปถ่ายกิจกรรม​ในแต่ละรายวิชา​สร้างความเข้าใจในเนื้อหาสาระของหลักสูตร​แก่นักศึกษา​เข้าใหม่ได้อย่างดี​ ส่งผลให้นักศึกษา​ตัดสินใจเลือกเรียนได้ตรงตามความสนใจของตนเอง​ อัตราการตกออกหรือย้ายสาขาจึงลดลงในปีการศึกษา​ 2565
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีการปรับปรุงพัฒนาระบบกลไกการรับสมัครนักศึกษา และมีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งการรับสมัครนักศึกษาใหม่มีผู้สมัครสนใจเข้าศึกษาเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรเพิ่มหรือพัฒนาช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมแพลตฟอร์มออนไลน์มากขึ้น
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ภูร การเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษา​ใหม่​ โดยให้รุ่นพี่ในสาขาสร้างความใกล้ชิดกับรุ่นน้อง​ และการเอาใจใส่จากคณาจารย์​ในลักษณะ​เข้าหา แทนการตั้งรับ​ ส่งผลต่อความพึงพอใจและความสุขในการเรียนของนักศึกษาใหม่ที่มีแนวโน้มดีขึ้น
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีกลไกในการดำเนินการวางแผน ปรับปรุง พัฒนากระบวนการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาแรกเข้าและมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรมชัดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์
- ทบทวนว่าข้อมูลเป็นของเทอม S/2564 หรือ S/2565
- มีคะแนนประเมินการเตรียมความพร้อมที่เพิ่มขึ้นจากปี 2564 คือ 4.15 ไปเป็น 4.17 ปี 2565 แต่ควรมีการระบุประเด็นของการพัฒนาปรับปรุงว่าได้ดำเนินอะไรไปที่ทำให้ผลการประเมินเพิ่มขึ้น
- ผลสำรวจแนวโน้มความสุขในการใช้ชีวิตของนักศึกษาสาขา มีข้อมูลเปรียบเทียบจาก 2564 หรือไม่

อาจารย์วชิรวิชญ์ ต่อยอดกลไกในการช่วยเสริมทักษะการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยและพลวัตรของโลกวิชาชีพให้กับนักศึกษ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีระบบและกลไกในการควบคุมและให้คำปรึกษาด้านวิชาการ มีระบบจัดเก็บข้อมูล รวมถึงกลไกการช่วยเหลือ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ เพิ่มความถี่ในการอัพเดทข้อมูล สรุปผล เพื่อใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินการต่อไป
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ภูร การจัดโครงการที่เป็นการนำเสนอผลงานของนักศึกษาในรายวิชาต่างๆ​ ให้บุคคลภายนอกได้เห็น​ สร้างความรู้สึกภูมิใจแก่นักศึกษา​ อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้นักศึกษา​ได้ฟังผลตอบรับจากบุคคลภายนอกที่เข้ามาชมงาน​ เป็นการศึกษา​แบบบูรณาการ​ให้นักศึกษา​และคณาจารย์​ประจำสาขา​ เข้าใจความต้องการของสถานประกอบการ​ ซึ่ง​เ​กี่ยวกับบุคลากรในสายอาชีพนี้ได้ดีขึ้น
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีระบบกลไก มีแผนการดำเนินการ มีกิจกรรมในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์
- ควรระบุให้ชัดเจนว่าทักษระการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ได้มีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษามีประเด็นอะไรบ้าง และอาจจะเพิ่มเติมกิจกรรมทั้งในรายวิชาหรือกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 (จากโครงการ / กิจกรรม ทั้ง 4 เรื่องที่สาขาดำเนินการ)
- เพิ่มรายละเเอียดการประเมินผลการดำเนินงานของโครงการ / กิจกรรมทั้ง 4 เรื่อง

อาจารย์วชิรวิชญ์ แต่ละกิจกรรมควรมีการประเมินผลการดำเนินการ เพื่อใช้ในการต่อยอดหรือพัฒนาต่อไป
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีการบูรณาการกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ ควรเพิ่มรายละเอียดวิธีการที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ผลิตงานสร้างสรรค์ และระบุการเผยแพร่ให้ชัดเจน
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรมีการประเมินสรุปผลการดำเนินการ เพื่อนำผลไปใช้ในการปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
 

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2548 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2551)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 34.61
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 82.14
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 73.91
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีแนวทางให้อาจารย์ที่ปรึกษารับฟังปัญหาของนักศึกษา รวมถึงช่องทางการติดต่อสื่อสารต่างๆ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรสร้างความเข้าใจกับนักศึกษาตั้งแต่เริ่มต้นของการสมัครเพื่อให้เกิดความเข้าใจในหลักสูตรมากขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลการตัดสินใจเลือกเรียน 
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 43.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ภูร แนวโน้มการสำเร็จการศึกษา​ ยังชี้ชัดว่าดีหรือไม่ดีขึ้นค่อนข้างยาก เนื่องจากนักศึกษา​รหัส 62 และ​ 63​ เป็นนักศึกษา​รุ่นที่อยู่คาบเกี่ยวในช่วงที่เผชิญ​สถานการณ์​การระบาดของ​ โควิด-19
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ให้มีการจัดทำแผนระยะการจบการศึกษาและแผนระยะเวลาในการดำเนินการทำปริญญานิพนธ์เพื่อการกำกับติดตามตามแผนที่วางไว้
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.46
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.40
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.51
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีการปรับหลักสูตร การเรียนการสอน เปิดช่องทางการการติดต่อหรือขอคำปรึกษาผ่านสื่อต่างๆ ที่เป็นที่นิยมในนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ อาจหาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญหรือเหมาะสมในการให้คำปรึกษารับหน้าที่เป็นส่วนกลางในการดูแลเรื่องนี้โดยตรง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีระบบกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์ แนวทางการการดำเนินการอย่างเป็นระบบสอดคล้องกับภารกิจของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ มีการปรับเปลี่ยนอาจารย์ 1 ท่าน คือ อาจารย์สุรัตน์ ทองหรี่ เป็น อ.อรรจน์ จินดาพล
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรมีการวางแผนระยาวในการรับสมัครอาจารย์ใหม่เพื่อทดแทนอาจารย์ที่เกษียณ
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ธิราภรณ์ มีการแบ่งงานเพื่อให้อาจารย์ประจำสาขาวิชา ได้จัดการสาขาวิชาในแต่ละด้าน
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ ตรวจสอบปีการศึกษา 2563 - 2564 - 2565
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรส่งเสริมอาจารย์ในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีแผนการบริหารและการพัฒนาอาจารย์ โดยมีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ (2558-2563) อันนำมาสู่กระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ที่ได้ในด้านต่างๆ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ ควรระบุให้ชัดเจนถึงการประเมินการดำเนินงานของปี 2564 และมีการพัฒนาปรับปรุงอย่างไรในปี 2565 ที่ทำให้ผลการประเมินการดำเนินงานมีคะแนนที่เพิ่มขึ้น
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรควรมีกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ในด้านต่างๆ โดยขอให้ทำการเปรียบเทียบให้เห็นอย่างชัดเจนเพื่อผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ภูร มีอาจารย์​ผู้รับผิดชอบ​หลักสูตร​คุณวุฒิ​ปริญญาเอกถึง​ 2 ท่าน
อาจารย์วชิรวิชญ์ อาจารย์ประจำหลักสูตรและคุณสมบัติต่างๆ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและสอดคล้องกับภารกิจของหลักสูตร 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรวางแผนแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาคุณวุฒิของอาจารย์เพิ่มเติม
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 3.33
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 40.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 3.33
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาและงานสร้างสรรค์ทุกท่านเพื่อที่สามารถยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรมีกลไกในส่งเสริมให้อาจารย์ยื่นผลงานทางวิชาการเพื่อการยื่นขอเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 1 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 1 0 2
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 64.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรส่งเสริมให้อาจารย์ทุกท่านมีผลงานงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.44 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ธิราภรณ์ มีการเปลี่ยนอาจารย์ 1 ท่าน แต่ท่านใหม่ที่เข้ามาแทน ได้มีการปฏิบัติหน้าที่ในหลักสูตรมากกว่า 9 เดือน และความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรมีอยู่ในระดับมากที่สุด ที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง 3 ปี
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรมีการวางแผนระยะยาวเพื่อการรองรับอาจารย์ที่เกษียณ
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีระบบกลไกในการดำเนินการที่ส่งผลการประเมินความพึงใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีแนวโน้นที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอด 3 ปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรนำผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงให้มีผลความพึงพอใจที่ดีขึ้นต่อไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
-รายงานการประชุมที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมต่อการบริหารหลักสูตรของอาจารย์อรรจน์ มาแล้วไม่น้อยกว่า 9 เดือน
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.81 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

21
17
80.95
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ภูร ในเล่มรายงาน​ ควรมีการแยกระบุแต่ละรายวิชาว่าปรับเปลี่ยนกระบวน​การเรียนการสอนอย่างไร​และรายวิชาใดที่เชื่อมโยงกับสถานประกอบการ​ หมายรวมถึงการนำเสนอผลลัพธ์​ความพึงพอใจของสถานประกอบการ​ต่อผลงานของนักศึกษาในรายวิชานั้นๆ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์
- มีการปรับปรุงหลักสูตรเมื่อปี 2564 แต่ควรชี้แจงรายละเอียดของการปรับสาระรายวิชา หรือ วิธีการจัดการเรียนการสอน
- ควรระบุจำนวนรายวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ชัดเจน
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์
- ควรชี้แจงรายละเอียดการปรับปรุงหลักสูตรปี 2564
- มีการระบุความพึงพอใของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตร ปี 2564 ควรจะนำเสนอเปรียบเทียบกับปี 2565 ด้วย
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ภูร มีการกำหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชาได้ตรงตามความถนัดของแต่ละบุคคล
อาจารย์วชิรวิชญ์ นอกจากมีการมอบหมายให้อาจารย์ประจำในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญการทำงานจริงในระบบอุตสาหกรรม และมีความชำนาญในการใช้งานอุปกรณ์ประกอบวิชาชีพอย่างดี เป็นผู้รับผิดชอบรายวิชาแล้วนั้น ยังมีการจัดตั้งอาจารย์พิเศษที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน โดยคัดเลือกจากบุคลากรในสายงานที่ยังคงประกอบวิชาชีพอยู่จริงในปัจจุบัน เข้ามารับผิดชอบการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ เพิ่มผลการประเมินการสอนของอาจารย์แต่ละท่าน เพื่อให้เห็นว่ามีการกำหนดผู้สอนได้เหมาะสมกับรายวิชานั้นๆ
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรนำผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนดำเนินการพัฒนาปรังปรุงการดำเนินการในปีการศึกษาต่อไป
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีระบบกลไกการกำกับ ติดตามการจัดแผนการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอน โดยรายงานถึงปัญหา แนวทางแก้ไขปรับปรุงรายวิชา ข้อเสนอแนะหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรนำผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนดำเนินการพัฒนาปรังปรุงการจัดแผนการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์
- ด้านการบริการวิชาการ ควรระบุกระบวนการ กลุ่มเป้าหมาย สถานที่ หรือวัตถุประสงค์การบริการวิชาการให้ชัดเจน
- ด้านการวิจัย น่าจะเป็นการวิเคราะห์และสังเคราะห์การวิจัยที่สร้างการเรียนรู้
- หน้า 76 : ปีการศึกษา 2563 ???
- เพิ่มเติมรายละเอียดกิจกรรม Street Perfomance

อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรมีการบูรณาการวิจัย การบริการวิชาการ และการบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยกับรายวิชาต่าง ๆ เพิ่มเติม 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผศ.ธิราภรณ์ ทั้ง 3 ด้าน ระบุว่ามีผลการประเมินที่ดีขึ้น ดังนั้นควรให้รายละเอียดเปรียบเทียบปี 2564 และ ปี 2565 ว่าดีอย่างไรบ้าง พัฒนาปรับปรุงอะไรไปบ้าง
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66

 

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีการจัดทำระบบและกลไกการประเมินผู้เรียนและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ ตรวจสอบปีการศึกษา (หน้า 79)
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีการปรับปรุงการทวนสอบให้มีประสิทธิภาพ และมีการวางแผนในการปรับมาตรฐานทั้งการสอนและการประเมิน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ ทั้ง 6 รายวิชาที่ได้มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (หน้า 81) ให้ระบุรายละเอียดการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในแต่ละรายวิชาด้วยว่าดำเนินการอะไรไปบ้าง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรเพิ่มการทวนสอบในรายวิชาให้มีจำนวนมากขึ้น และควรนำผลการทบทวนสอบไปวางแผนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ภูร มีการนำผลประเมินผู้เรียนในปีการศึกษา​ที่ผ่านมา​ ตามที่ระบุใน​ มคอ.5​ มาปรับปรุงในแต่ละรายวิชา​ให้ได้ผลสัมฤทธิ์​ที่ดีขึ้น
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีระบบกลไกในการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรมีการสรุปผลการประเมิน เพื่อนำไปใช้พัฒนาปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไปในทุกรายวิชา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
 

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานการได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการเรียนการสอนของอาจารย์อรรจน์
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบข้อมูลการได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/วิชาชีพ ของอาจารย์พรทิพย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรมีการปรับปรุงกลไกในการดำเนินงาน ทำให้หลักสูตรฯ มีอุปกรณ์ในการส่งเสริมการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ อยู่เสมอ รวมไปถึงการสั่งซื้ออุปกรณ์การเรียนรู้ที่ใหม่และทันสมัยให้กับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วชิรวิชญ์ ควรมีการปรับปรุงสิ่งสนับการเรียนรู้ในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นในทุกปี โดยนำผลการประเมินของอาจารย์และนักศึกษามาทบทวนเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ธิราภรณ์ มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่สอดคล้องกับการดำเนินงานของหลักสูตรและการเรียนรู้ของนักศึกษาสาขาวิชา
อาจารย์วชิรวิชญ์ หลักสูตรได้จัดสรรการใช้ห้องให้พร้อมใช้งาน และมีการหมุนเวียนการใช้ห้องให้เพียงพอต่อปริมาณนักศึกษาที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงจัดหาพื้นที่อื่นๆ ภายในมหาวิทยาลัยเพื่อใช้ในการจัดแสดง และซ้อมการแสดงอย่างหลากหลาย 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วชิรวิชญ์ มีการรับสมัครเจ้าหน้าที่เทคนิค ประจำสาขาสื่อสารการแสดงเป็นการเฉพาะจำนวน 1 อัตรา ซึ่งทำให้ระบบการสนับสนุนการเรียนการสอนถูกปรับให้เข้าระบบมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ธิราภรณ์ ควรเปรียบเทียบผลประเมินการดำเนินการของปี 2564 และปี 2565 โดยให้ระบุว่านำประเด็นใดจากการประเมินผลของปี 2564 มาปรับปรุงพัฒนาทำให้ได้การประเมินผลการดำเนินงานปี 2565 ที่ดีขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ Upload รายการหลักฐานในระบบ DBS ให้ครบถ้วนและแล้วเสร็จภายในวันที่ 25 ส.ค.66
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีระบบและกลไกการดำเนินที่ชัดเจนในทุกประเด็น
  2. คณาจารย์มีผลงานทั้งผลงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ที่ต่อเนื่องทุกปี ซึ่งมีความพร้อมในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
  3. มีการสนับสนุนคณาจารย์ในหลักสูตรให้ได้พัฒนาตนเองทุกด้าน
  4. มีกระบวนการรับและเตรียมความพร้อมนักศึกษา​ใหม่ที่ร่วมสมัย​ เป็นระบบ​ และพัฒนาขึ้นจากปีที่ผ่านมา​ สามารถประชาสัมพันธ์​เนื้อหาของหลักสูตร​ให้นักศึกษา​ใหม่​ ส่งผลให้นักศึกษา​แรกเข้า​ มีความเข้าใจในตัวหลักสูตรตั้งแต่เริ่มเข้ามาเรียนปีแรก​ อัตรานักศึกษา​ตกออกระหว่างปีจึงลดลงอย่างเห็นได้ชัดในปีการศึกษา​ 2565
  5. มึการบูรณาการ​รายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร​ให้สอดคล้องกับรูปแบบกิจกรรมและโครงการต่างๆของสาขาวิชา​ เป็นการเรียนแบบบูรณาการ​ที่มีความร่วมสมัย​ นักศึกษา​ได้ลงมือทำจริง​ และได้ประเมินผลลัพธ์​จากผู้เข้าร่วมงานได้อย่างแท้จริง
  6. นักศึกษา​ใหม่ให้ความสนใจในหลักสูตร​สาขาสื่อสารการแสดงมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรมีระบบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาการตกออกของนักศึกษาแต่ละชั้นปี รวมไปถึงร้อยละของนักศึกษาที่จบการศึกษาในแต่ละปี
  2. หลายตัวบ่งชี้พบว่ามีการประเมินการดำเนินของปีการศึกษา 2564 ที่นำมาพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงการดำเนินของปี 2565 ดีขึ้น แต่ขาดการให้รายละเอียดเชิงเปรียบเทียบ
  3. หลักสูตรควรมีกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาของหลักสูตร
  4. หลักสูตรควรมีการวางแผนการส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรผลิตผลงานวิชาการที่เป็นงานวิจัยให้มีจำนวนมากขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.61
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.44
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.62

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.81 4.81 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.81 - - 3.81 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.35 3.50 4.81 3.62 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก