รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การกีฬา

วันที่ประเมิน: 24 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เป็นไปตามเกณฑ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เป็นไปตามเกณฑ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผศ.ดร.อานิก เป็นไปตามเกณฑ์ แต่ขอให้เพิ่มเติมคุณวุฒิ ป.เอกของ ผศ.ดร.ชาญชัย ให้ครบถ้วน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เป็นไปตามเกณฑ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เป็นไปตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 32 4.38
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 7
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.38
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.อานิก+อาจารย์พรหมพงษ์ ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับการประเมินอยู่ที่ร้อยละ 21.88 ควรเพิ่มจำนวนการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้บัณฑิตให้มากขึ้นในปีถัดไป เพื่อนำผลที่ได้ไปปรับปรุงวางแผนและการดำเนินงานในหลักสูตรให้ดีมากขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 32 4.57
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 26
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 15
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 4
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 2
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 2
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 3
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 91.30
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.57
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.48 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.อานิก 
1.หลักสูตรมีระบบและกลไกในการดำเนินการรับนักศึกษา มีการประเมินผลและการพัฒนา ปรับปรุงกลไกให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการวางแผนการประชาสัมพันธ์หลักสูตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบและกลไกในการรับสมัคร โดยอาจารย์ในหลักสูตรมีส่วนร่วม
2.มีการปรับปรุงกระบวนการได้ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น รวมทั้งทำอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาเพื่อสร้างช่องทางการติดต่อสื่อสารในระหว่างที่ยังไม่เปิดเรียน มีการปรับกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์หลักสูตร
3.มีการพัฒนากระบวนการในการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาใหม่ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในตัวหลักสูตร สามารถปรับตัวและรู้จักตัวเองมากขึ้น สามารถวางแผนการเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดร.ษิธู มีกลไกชัดเจน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง และสามารถประเมินกระบวนการได้อย่างชัดเจน
อาจารย์พรหมพงษ์ มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปปฏิบัติ และมีการประเมินผล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีจุดเด่นในเรื่องการปรับปรุงกระบวนการได้ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นรวมทั้งทำอย่างต่อเนื่อง จากการสร้าง Key Message เพื่อสร้างความเข้าใจที่คมชัดแก่นักเรียนที่สนใจได้เข้ามาสมัครเรียน
ดร.ษิธู มีการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน โดยมีการสัมภาษณ์เบื้องต้นเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติผู้เรียน 
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการใช้เพจ spc x ให้เป็นประโยชน์ในการทำให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ามาดูและได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนของสาขา แนวทางเสริม อนาคตอาจจะใช้สื่อออนไลน์เพิ่มเติม เช่น tiktok twitter เป็นต้น

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.ษิธู มีกระบวนการคัดเลือก/ตรวจสอบผู้เรียนที่มีคุณสมบัติไม่ตรงตามที่หลักสูตรกำหนดอย่างไร 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก มีการจัดกิจกรรม SPC Pre Season ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจในหลักสูตร รวมทั้งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาต่างชั้นปี นักศึกษารู้สึกถึงเป็นส่วนหนึ่งของสาขาวิชา ส่งผลต่ออัตราการคงอยู่ และส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียน
ดร.ษิธู มีการดำเนินการที่เป็นรูปธรรม เช่น การจัดรายการจบแล้วไปไหน เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.อานิก ควรทำอย่างต่อเนื่อง และประเมินผลความต้องการของนักศึกษาที่ร่วมกิจกรรม เพื่อปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมให้น่าสนใจกับนักศึกษารุ่นต่อๆไป เกิดเป็นกระบวนการให้ดียิ่งขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีระบบและกลไกด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในหลากหลายด้าน มีการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวทางในศตวรรษที่ 21 และได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการออกแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเข้ากับบริษัทจำลอง SPC-X และกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการนำข้อบกพร่องของปีก่อนหน้ามาปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการออกแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเข้ากับบริษัทจำลอง SPC-X สะท้อนให้เห็นผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมจากการที่นักศึกษามีผลงานที่ได้รับรางวัลมากมาย
ดร.ษิธู+อาจารย์พรหมพงษ์
 มีระบบกลไกที่สามารถนำไปสู่การปฎิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรม
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการใช้สื่อออนไลน์ในการให้คำปรึกษา
แนวทางเสริม นักศึกษาปี 2 ขึ้น ปี 3 ตกลงไปนิด ควรให้ความสำคัญกับนักศึกษาปี 2 ในการให้คำปรึกษาเพิ่มขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการบูรณาการความรู้ทางวิชาการสู่การปฏิบัติงานจริงผ่านเพจ SPC X และมีการร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีนักศึกษาได้ร่วมทำเวิร์คช็อปกับองค์กรภายนอก และมีนักศึกษาได้รับรางวัลงานปริญญานิพนธ์และสหกิจ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2555 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2558)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 77.80
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 79.50
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 80.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการใช้สื่อออนไลน์ในการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษา มีการจัดกิจกรรมต่างๆ กับองค์กรวิชาชีพทำให้นักศึกษาได้เห็นภาพว่าการเรียนในหลักสูตรเป็นอย่างไร ซึ่งนักศึกษาอาจจะสนุกกับการปฏิบัติและได้เห็นภาพการทำงานจริง จึงอาจเป็นเหตุผลให้อัตราการคงอยู่มีแนวโน้มสูงขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 55.60
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 56.40
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 60.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.52
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.54
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.55
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ 
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา เนื่องจากข้อจำกัดในเรื่องงบประมาณ อาจทำให้การซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอนไม่เป็นไปตามที่หลักสูตรจะจัดซื้อ เห็นสมควรว่ามหาวิทยาลัยควรจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้นตามความจำเป็นกับจำนวนนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มดีขึ้นทุกเรื่อง
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีการประเมินกระบวนการ และมีการปรับปรุงกระบวนการจากปีที่ผ่านมา ในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ที่ดีขึ้นเห็นผลเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน ซึ่งก็คืออาจารย์ในหลักสูตรมีผลงานวิชาการครบทุกคนอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาความรู้จากสถานประกอบการ รวมทั้งการนำองค์ความรู้จากการพัฒนาตนเองของอาจารย์ไปปรับปรุงการเรียนการสอนจนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดีของนักศึกษา
ดร.ษิธู+อาจารย์พรหมพงษ์ มีระบบกลไกและการปฏิบัติดำเนินการ ส่งผลเป็นรูปธรรมที่ทำให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนมีการพัฒนาไปตามแนวทางที่กำหนด ทั้งผลงานวิชาการและมีอาจารย์ได้รับคุณวุฒิเพิ่มขึ้น 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีเกณฑ์ในการรับอาจารย์ใหม่ และมีกลไกในการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ หลักสูตรได้มีการประเมินกระบวนการด้านการบริหารอาจารย์ พบว่าผลการดำเนินงานทั้ง 5 ด้าน อยู่ในเกณฑ์ที่ดี และมีผลงานวิชาการครบทุกท่าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนมีการพัฒนาตนเอง ทั้งในเรื่องการผลิตผลงานวิชาการ งานสร้างสรรค์ และการอบรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีอาจารย์ได้คุณวุฒิปริญญาเอกเพิ่มขึ้น 1 ท่าน
ดร.ษิธู  อาจารย์มีผลงานตามเป้าหมาย 7 ชิ้น มีคุณวุฒิเพิ่มขึ้น 1 ท่าน
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการส่งเสริมให้อาจารย์ทำผลงานทางวิชาการ และอาจารย์มีผลงานทางวิชาการครบทุกท่าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 3.33
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 40.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 3.33
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 7
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 7.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 140.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.ษิธู
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ควรส่งเสริมให้มีผลงานทางวิชาการประเภทอื่นเพิ่มขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.44 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการรายงานผลการดำเนินการครบทุกเรื่อง และมีแนวโน้มที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง โดยอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีอัตราคงอยู่ร้อยละ 100 อย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.15 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

25
20
80.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรใหม่ที่ทันสมัย มีระบบกลไกในการปรับปรุงพัฒนาสาระรายวิชาในหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ซึ่งหลักสูตรได้ออกแบบการสอนในรายวิชาผลิตสื่อด้วยการบูรณาการเข้ากับการจัดตั้งบริษัทจำลอง SPC-X ที่หลักสูตรได้สร้างขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มีความร่วมมือกับสถานประกอบการและผลงานของนักศึกษามีประสิทธิภาพ มีผลงานเชิงประจักษ์ ที่สามารถนำไปใช้กับสังคมได้จริง
ดร.ษิธู+อาจารย์พรหมพงษ์ มีระบบกลไกในการปรับปรุงพัฒนาสาระรายวิชาในหลักสูตร ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรได้มีความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพในการร่วมพัฒนาการเรียนการสอน ทำให้เกิดประโยชน์กับการพัฒนาทักษะของนักศึกษาสู่ความเป็นนักวิชาชีพ
ดร.ษิธู มีการทำความร่วมมือกับสถานประกอบการสโมสรกีฬา เพื่อให้สนามแข่งเป็นสถานที่ฝึกประสบการณ์ 
อาจารย์พรหมพงษ์ หลักสูตรได้มีการสร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการด้านการกีฬา เพื่อให้สถานประกอบการมาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.อานิก ควรเพิ่มเติมความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพในด้านอื่นๆ เช่น แบรนด์กีฬา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านธุรกิจให้แก่ผู้เรียน
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีการปรับปรุง พัฒนาวิธีการและเนื้อหาในการสอนอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งเป็นผลจากการร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพ ที่ทำให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะเพื่อสามารถนำไปใช้ได้จริง
อาจารย์พรหมพงษ์ หลักสูตรได้นำผลการประเมินกระบวนการมาพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร โดยเน้นความทันสมัย ทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และความทันสมัยเชิงธุรกิจในอุตสาหกรรมกีฬาในประเทศไทย มาประยุกต์สู่การจัดการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ หลักสูตรได้กำหนดวิสัยทัศน์ในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ โดยการสร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการ มีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิตาม มคอ.5 ทั้ง 3 ด้าน ครบทุกรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีการบูรณาการรายวิชากับการวิจัย การบริการวิชาการ โดยมีระบบและกลไก ได้แก่ กระบวนการคัดเลือกอาจารย์ การทำความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพ การปรับปรุงเนื้อหาและวิธีการสอน โดยมีการประเมินกระบวนการและนำผลจากครั้งก่อนมาพัฒนาปรับปรุงเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรมทุกด้าน กล่าวคือ นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการเรียนการสอน มีการเผยแพร่ผลงานนักศึกษาสู่สาธารณชนในวงกว้าง ผลงานนักศึกษามีส่วนในการขับเคลื่อนสังคมได้จริง และมีผลงานที่ได้รับรางวัลในระดับเครือข่ายมหาวิทยาลัย ส่งผลให้นักศึกษามีประสบการณ์ทางวิชาชีพที่เข้มข้นโดยมีผลงานเชิงประจักษ์
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการบูรณาการรายวิชากับการวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มีการประเมินกระบวนการ และนำผลมาพัฒนาปรับปรุงเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรม
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีระบบและกลไกในการกำหนดผู้สอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3 และ มคอ.4 เป็นประจำทุกภาคการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีการบูรณาการรายวิชากับการวิจัย การบริการวิชาการ โดยนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการเรียนการสอน มีการเผยแพร่ผลงานนักศึกษาสู่สาธารณชนในวงกว้าง ผลงานนักศึกษามีส่วนในการขับเคลื่อนสังคมได้จริง และมีผลงานเชิงประจักษ์ จากการได้รับรางวัลในระดับเครือข่ายมหาวิทยาลัย
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการบูรณาการการเรียนการสอน กับการบริการทางสังคมและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีระบบและกลไกการประเมินผู้เรียน ทั้งในระดับรายวิชาและระดับหลักสูตร มีการพัฒนาปรับปรุงวิธีการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยมีการปรับปรุงจากการประเมินกระบวนการในปีที่ผ่านมา โดยผ่านการตรวจสอบเครื่องมือโดยคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการหลักสูตร โดยมีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมจากผลงานของนักศึกษา
ดร.ษิธู + อาจารย์พรหมพงษ์ มีระบบ มีกลไก มีการพัฒนาปรับปรุงวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับสถานการณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก ผลลัพธ์ของการเรียนการสอนแบบ Project base learning ทำให้เกิดผลงานที่เป็นรูปธรรมในรายวิชาขั้นสูงอย่างปริญญานิพนธ์และสหกิจศึกษา ที่ได้รับรางวัลระดับเครือข่ายมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผลจากการฝึกทักษะให้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพที่สามารถนำไปใช้ได้จริง
อาจารย์พรหมพงษ์ นักศึกษาสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ สามารถปรับตัวตามผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ และทุกรายวิชามีการประเมินด้านระเบียบ วินัย และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.อานิก ควรนำวิธีการเรียนการสอนแบบ Project base learning ไปปรับใช้กับรายวิชาอื่นๆ
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์พรหมพงษ์ มีการทวนสอบในรายวิชาต่าง ๆ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีระบบการดำเนินงานในการจัดการด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรได้ร่วมกันเสนอสิ่งที่ควรพัฒนา หรือสนับสนุนเพิ่มเติมในรายวิชาเรียน มีการเพิ่มพื้นที่การเรียนรู้จากการจัดหาอุปกรณ์ใหม่เข้ามาสนับสนุนประสิทธิภาพของห้องปฏิบัติการ เพื่อประสิทธิภาพของรายวิชาผลิตสื่อ ที่ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาที่มีคุณภาพ มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา มีการประเมิน-ทบทวนกระบวนการ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเห็นผลเป็นรูปธรรม
อาจารย์พรหมพงษ์
 มีการเพิ่มพื้นที่การเรียนรู้จากการจัดหาอุปกรณ์ใหม่เข้ามาสนับสนุนประสิทธิภาพของรายวิชาผลิตสื่อ ที่ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลงานนักศึกษาที่มีคุณภาพ มีการจัดซื้อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามความจำเป็นตามกรอบงบประมาณที่ได้มาจากมหาวิทยาลัย
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.อานิก หลักสูตรมีจุดเด่นในการสร้างช่องทางสื่อออนไลน์ (แฟนเพจเฟซบุ๊ก SPC-X) ที่ใช้ในการเผยแพร่ผลงานนักศึกษา รวมทั้งการบูรณาการเข้ากับรายวิชาผลิตสื่อ เพื่อเปิดประสบการณ์การทำงานแบบมืออาชีพให้แก่นักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์พรหมพงษ์ ตอนนี้วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 4 ห้อง เป็นห้องที่ได้รับการปรับปรุงเป็นคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ 2 ห้อง
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์พรหมพงษ์ งบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ของสาขาอาจจะน้อยไป ทำให้การซื้ออุปกรณ์ให้เป็นไปตามเป้าหมายยังไม่ดีนัก
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์พรหมพงษ์ อาจจะเป็นเพราะงบประมาณที่ได้รับมาจากมหาวิทยาลัยมีจำกัด ทำให้การซื้ออุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการสอน จึงอาจจะไม่ครบถ้วนตามความต้องการของนักศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีกระบวนการดำเนินงานที่ดี มีการกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน การทบทวนและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ ส่งผลให้เกิดแผนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งเป็นหลักสูตรที่มีผลลัพธ์ดีในทุกๆด้าน
  2. หลักสูตรมีวิสัยทัศน์ในการวางแผนการพัฒนาศักยภาพในการผลิตสื่อของนักศึกษาได้อย่างดีมาก เช่น การจัดตั้งบริษัท SPCX ที่นำมาปรับใช้และเห็นผลเชิงประจักษ์ในทุกๆ ด้าน
  3. หลักสูตรมีการร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพและนำมาปรับใช้กับรายวิชาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
  4. มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับสถานประกอบการ และองค์กรวิชาชีพ
  5. มีการใช้สื่อออนไลน์เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ให้นักเรียนหรือผู้ที่สนใจได้รับรู้เกี่ยวกับสาขา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้ตอบรับกับสื่อดิจิทัล ที่กลายเป็นสื่อหลักในปัจจุบัน โดยอาจเพิ่มช่องทางออนไลน์บนแพลตฟอร์มอื่นๆ เพื่อประโยชน์ทั้งการประชาสัมพันธ์และการเรียนการสอนในหลักสูตร
  2. เรื่องของอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ถ้ามีงบประมาณมากกว่านี้น่าจะทำให้นักศึกษามีอุปกรณ์มีความพึงพอใจมากยิ่งขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.38
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.57
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.44
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.18

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.48 4.48 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.15 - - 4.15 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 4.06 4.25 4.48 4.18 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก