รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม

วันที่ประเมิน: 1 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แก้ไขดังแสดงในหลักฐาน
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 5 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แบบ 1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. อย่างน้อย 2 เรื่อง
แบบ 2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 4 4.51
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 4
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.51
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 3 3 0
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.20 4.38
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก 6
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 70.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 80 4.38
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.45 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรให้ความชัดเจนในกระบวนที่ครบถ้วนเรื่องการประชาสัมพันธ์และแนะแนวผ่านสื่อ Social Media เพื่อรับนักศึกษา รวมถึงมีคณะทำงานซึ่งประกอบด้วย คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ในการติดต่อ เพื่อให้ข้อมูลของหลักสูตรแก่ผู้ที่สนใจจะเข้าเรียน และได้รับความร่วมมือจากศิษย์เก่าในการเป็นสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ดร.สมิตา)
1. เพิ่มความถี่ในการประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายหลัก
2. ปรับคอนเทนของสื่อประชาสัมพันธ์ เน้นจุดเด่น จุดเเข็ง จุดขาย หากได้มีโอกาสศึกษาในหลักสูตรนี้
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรกำหนดแนวทางที่ชัดเจนในการรับนักศึกษาควบคู่กับเตรียมความพร้อมของนักศึกษาที่เข้าศึกษาในแผนการศึกษาที่แตกต่างกัน (แผนการทำวิจัย และแผนการเรียนรายวิชาและทำวิจัย) โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการเข้าสู่สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดในโครงสร้างของหลักสูตร โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมเพื่อความสำเร็จของการทำดุษฎีนิพนธ์อย่างมีคุณภาพ และสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสป.อว. พ.ศ.2558 โดยมีตัวอย่างของการประชาสัมพันธ์ส่วนที่เป็นจุดเด่นของหลักสูตร อาทิเช่น ความมีชื่อเสียงของคณาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก  รูปแบบการเรียนการสอนที่ตอบรับสังคมยุคดิจิทัลและการเรียนรู้ในศตวรรษที่21เน้นการเพิ่มความรู้และทักษะที่ได้รับจากผู้สอนที่มีชื่อเสียงและมีประสบการณ์ เป็นต้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินการ ในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และทักษะในการทำวิจัย รวมถึงการเสวนาทางวิชาการที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลเชิงวิชาการ โดยเฉพาะการทำวิจัยในประเด็นที่ก่อให้เกิดประโยชน์และสามารถนำไปใช้ได้จริงในสังคม นอกจากนี้ หลักสูตรยังมีการกำหนดระบบ กลไก และการดำเนินการในการควบคุมและติดตามการทำดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดประเด็นในการทำวิจัยและการกำหนดอาจาร์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์  และการบันทึกข้อมูลแสดงความก้าวหน้าของการทำวิจัย ดังแสดงผลการดำเนินงานที่มีแนวโน้มดีขึ้นในจำนวนของผู้สำเร็จการศึกษา และความสำเร็จในการใช้ระยะเวลาที่น้อยลงสำหรับการมีหัวข้องานวิจัยและการสอบผ่านโครงร่างงานดุษฎีนิพนธ์
(ดร.สมิตา) มีการปรับเปลี่ยนระบบการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ มีความเหมาะสม โดยจัดประชุมนำเสนอหัวข้อจากนักศึกษา นำรายชื่อนักศึกษาพร้อมหัวข้อ วิทยานิพนธ์เข้าที่ประชุมคณะ เพื่อปรึกษาหารือและแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่นักศึกษาตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์แต่ละท่าน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนในการกำหนดระบบ กลไก และการดำเนินการในการควบคุมและติดตามการทำดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดประเด็นในการทำวิจัยและการกำหนดอาจาร์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์  และการบันทึกข้อมูลแสดงความก้าวหน้าของการทำวิจัย ดังแสดงผลการดำเนินงานที่มีแนวโน้มดีขึ้นในจำนวนของผู้สำเร็จการศึกษา และความสำเร็จในการใช้ระยะเวลาที่น้อยลงสำหรับการมีหัวข้องานวิจัยและการสอบผ่านโครงร่างงานดุษฎีนิพนธ์

แนวทางเสริม
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการสร้างแนวทางของการจัดทำแผนงานในการทำงานวิจัยของงานดุษฎีนิพนธ์ให้เป็นขั้นตอนในแต่ละช่วงงาน โดยมีเป้าหมาย คือ การสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดในโครงสร้างของแต่ละแผนการศึกษา (แผนการศึกษาเป็นงานวิจัย และแผนการศึกษาเป็นการเรียนรายวิชาและงานวิจัย)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนในการกำหนดระบบ กลไก และการดำเนินการ ในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และทักษะในการทำวิจัย รวมถึงการเสวนาทางวิชาการที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลเชิงวิชาการ โดยเฉพาะการทำวิจัยในประเด็นที่ก่อให้เกิดประโยชน์และสามารถนำไปใช้ได้จริงในสังคม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 3 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2551)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 87.50
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 0.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.83
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.84
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.86
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีความชัดเจนในการกำหนดระบบ กลไก และการดำเนินงาน รวมถึงการประเมินผลการดำเนินงาน ที่บริหารงานโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ที่ประกอบด้วยการบริหารงานและส่งเสริมรวมถึงการพัฒนาอาจารย์ที่ครบถ้วน ได้แก่
1. อัตรากำลังของอาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ประจำหลักสูตรที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสัดส่วนของการดูแลนักศึกษาทั้งในเรื่องของการเรียนการสอนและการควบคุมงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
2. การกำหนดภาระงานที่ครบถ้วนของความเป็นอาจารย์ของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่ ภาระงานการสอนและการควบคุมการทำดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษา ภาระงานการทำวิจัย ภาระงานการบริการวิชาการ เป็นต้น โดยการสร้างประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมให้แก่สังคม และผลงานงานาวิจัยที่ได้รบการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติของอาจารย์ผู้รับชอบหลักสูตร 
3. การจัดกิจกรรมในการพัฒนาทักษะความรู้ ทั้งความรู้ของสาขาวิชา ความรู้ในการจัดการเรียนการสอน และความรู้ในการทำวิจัย เป็นต้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนในการกำหนดระบบ กลไก และการดำเนินงาน รวมถึงการประเมินผลการดำเนินงาน ที่บริหารงานโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ที่ประกอบด้วยการบริหารงานและส่งเสริมรวมถึงการพัฒนาอาจารย์ที่ครบถ้วน ได้แก่
1. อัตรากำลังของอาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ประจำหลักสูตรที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสัดส่วนของการดูแลนักศึกษาทั้งในเรื่องของการเรียนการสอนและการควบคุุมงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
2. การกำหนดภาระงานที่ครบถ้วนของความเป็นอาจารย์ของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่ ภาระงานการสอนและการควบคุมการทำดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษา ภาระงานการทำวิจัย ภาระงานการบริการวิชาการ เป็นต้น โดยการสร้างประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมให้แก่สังคม และผลงานงานาวิจัยที่ได้รบการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติของอาจารย์ผู้รับชอบหลักสูตร 
3. การจัดกิจกรรมในการพัฒนาทักษะความรู้ ทั้งความรู้ของสาขาวิชา ความรู้ในการจัดการเรียนการสอน และความรู้ในการทำวิจัย เป็นต้น
แนวทางเสริม
1.หลักสูตรควรมีการส่งเสริมและพัฒนาการเผยแพร่งานวิจัยของอาจารย์เข้าสุ่การเผยแพร่งานวิจัยในระดับนานาชาติ เพื่อเพิ่มความสนใจในศักยภาพงานวิจัยในระดับนานาชาติ รวมถึงการผลักดันให้งานวิจัยของอาจารย์ได้รับการอ้างอิงจากภายนอก
2.หลักสูตรควรมีการวางแผนในการส่งเสริมให้อาจารย์รับทุนวิจัยจากภายนอกที่ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบที่มีศักยภาพสูงทั้งคุณวุฒิการศึกษาและความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 0
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 2
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 100.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 4 3 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 160.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบทุกท่านมีผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติ

แนวทางเสริม
หลักสูตรควรมีการกำหนดแผนงานในการส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบมีผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.4 จำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนยืนยัน
[ฐานข้อมูล]
ผลการประเมิน
กรรมการ
TCI SCOPUS
[1] จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง 3 0 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร [1] / [2] 1.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] x 5 / 0.25 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีผลงานของอาจารย์ธรรมวิทย์ ได้รับการ Citation ในฐาน TCI จำนวน 3 ชิ้น ในปี 2019, 2020 และ 2021 
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา
  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 2.5 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 3.0 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 0.25 ขึ้นไป
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.95
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.96
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.98
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีผลดำเนินการในเรื่องการบริหารและพัฒนาอาจารย์ที่มีแนวโน้มดีขึ้นในทุกเรื่อง

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

4
3
75.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA ในการออกแบบหลักสูตรหรือการปรับสาระรายวิชา การปรับเปลี่ยน กระบวนการการเรียนการสอน และการปรับกลยุทธ์ที่ใช้ในการสอน เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและตอบสนองความต้องการของทั้งผู้เรียน และผู้ใช้บัณฑิต รวมถึงผ่านการพิจารณาในการให้ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่หลักสูตรให้ความสำคัญ ดังที่ได้เห็นจากผลการตอบรับที่ดีมากจากผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ใช้บัณฑิตและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ  โดยการปรับปรุงเนื้อหารายวิชาและรูปแบบการเรียนการสอนให้ทันสมัย ซึ่งพิจารณาจากความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและจากการเข้าร่วมสัมมนากับองค์กรด้านกระบวนการยุติธรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอน อาทิเช่น  การปรับปรุงสาระรายวิชาในรายวิชาอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและการเมืองซึ่งมีการปรับเพิ่มหัวข้ออาชญากรรมไซเบอร์ ที่เป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงอีกภัยหนึ่งอันเป็นผลต่อเนื่องจากการพัฒนาของเทคโนโลยีในปัจจุบัน  การเพิ่มหัวข้ออาชญากรรมเศรษฐกิจในยุคดิจิทัลในรายวิชาการวิเคราะห์และการบูรณาการงานยุติธรรม เป็นต้น รวมทั้งหลักสูตรยังให้ความสำคัญในการจัดให้มีการศึกษาดูงานในรายวิชาสัมมนา  นั่นคือในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรได้จัดการศึกษาดูงานที่ที่บริษัทยูนิลีเวอร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริงและเพิ่มองค์ความรู้ โดยเฉพาะการให้ความสำคัญต่อการทำงานด้วยความมีคุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพ รวมถึงหลักสูตรยังมีการจัดเสวนาวิชาการประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้นักสึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์ตรงที่ได้รับจากการถ่ายทอดของผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้พิจารณาจากผลของการจัดเสวนา และสัมมนาทางวิชาการด้านอาชญาวิทยาฯ ที่จัดร่วมกับองค์กรภายนอก และนำผลการพิจารณามาปรับสาระรายวิชาให้สอดคล้องกับความต้องการขององค์กรภายนอก โดยเฉพาะหลักสูตรมีการทำ MOU ร่วมกับองค์กรภายนอกในภาครัฐ ซึ่งส่งผลในการได้รับความพึงพอใจในระดับดีมากจากผู้ใช้บัณฑิตภายนอกที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนในการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำหนดกลยุทธ์ และการประเมินผลการดำเนินการในการปรับปรุงสาระรายวิชาและรูปแบบการเรียนการสอนให้มีความทันสมัยตามความก้าวหน้าในยุคดิจิทัล และสามารถเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริงซึ่งเป็นผลที่ได้จากการสัมมนาและเสวนาทางวิชาการร่วมกับองค์กรภายนอก และส่งผลได้รับความพึงพอใจในผู้สำเร็จการศึกษาระดับดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรได้กำหนดระบบ กลไก และแนวทางในการดำเนินงาน รวมถึงการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA ในการกำหนดผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับเกณฑ์มมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการวางระบบผู้สอนคือวุฒิการศึกษา ความเชี่ยวชาญและผลงานวิชาการที่สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ของสาระรายวิชา รวมถึงความครบถ้วนในการดำเนินการเรื่องการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่การมีหัวข้องานวิทยานิพนธ์ และกระบวนการติดตามความก้าวหน้าของอาจารย์ที่ปรึกษาในเรื่องของการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาเป็นประจำ เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาดำเนินการทำวิทยานิพนธ์อย่างต่อเนื่อง ดังแสดงเป็นแนวโน้มของจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีมากขึ้น ในขณะที่นักศึกษาที่เข้าใหม่ในปีการศึกษา 2566 ทุกคนมีการเสนอหัวข้องานวิทยานิพนธ์เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา 2566
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนในการกำหนดระบบ กลไก และแนวทางในการดำเนินงาน รวมถึงการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA ในการกำหนดผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับเกณฑ์มมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการวางระบบผู้สอนคือวุฒิการศึกษา ความเชี่ยวชาญและผลงานวิชาการที่สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ของสาระรายวิชา ดังแสดงความสำเร็จเป็นความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอยู่ในระดับดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนในความครบถ้วนของการดำเนินการเรื่องการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่การมีหัวข้องานวิทยานิพนธ์ และกระบวนการติดตามความก้าวหน้าของอาจารย์ที่ปรึกษาในเรื่องของการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาเป็นประจำ เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาดำเนินการทำวิทยานิพนธ์อย่างต่อเนื่อง ดังแสดงเป็นแนวโน้มของจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีมากขึ้น ในขณะที่นักศึกษาที่เข้าใหม่ในปีการศึกษา 2566 ทุกคนมีการเสนอหัวข้องานวิทยานิพนธ์เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา 2566
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้ดำเนินการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การกำกับการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) และการประเมินวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีเป้าหมายและระบบกลไกที่กำหนด และมีการปรับปรุงต่อเนื่องจากปีการศึกษาก่อน โดยนำผลการประเมินมาปรับปรุงเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานแสดงแนวโน้มของความมีคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน รวมถึงความชัดเจนในผลที่เกิดขึ้นจากการทวนสอบเมื่อเทียบกับความคาดหวังที่หลักสูตรกำหนด
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีความชัดเจนและให้ความสำคัญในการดำเนินงานอย่างครบถ้วนตามรูปแบบของ PDCA ในเรื่องของการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาและอาจารย์ เพื่อการทำงานวิจัยและการเรียนรู้ ซึ่งสามารถตอบรับความต้องการของทั้งนักศึกษาและอาจารย์ ดังแสดงความสำเร็จเป็นผลของความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากเป็นเวลา 3 ปีการศึกษาต่อเนื่อง โดยที่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการวางระบบ กลไก และการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามรูปแบบของ PDCA สำหรับการจัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกและสิ่งเอื้อต่อการเรียนรู้และการทำวิจัยในยุคดิจิทัล เช่น การจัดทำ website ของหลักสูตรสำหรับการเผยแพร่องค์ความรู้ของสาขาวิชา  การจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการทำวิจัย เป็นต้น โดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้รับการประเมินจากการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ในเรื่องของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งเอื้อต่อการเรียนรู้และการทำงานวิจัย ที่อยู่ในระดับดีมากเป็นเวลา 3 ปีการศึกษาต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรให้ความชัดเจนในกระบวนการที่ครบถ้วนเรื่องการประชาสัมพันธ์และแนะแนวผ่านสื่อ Social Media เพื่อรับนักศึกษา รวมถึงมีคณะทำงานซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ในการติดต่อเพื่อให้ข้อมูลของหลักสูตรแก่ผู้ที่สนใจจะเข้าเรียน และได้รับความร่วมมือจากศิษย์เก่าในการเป็นสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ด้วย
  2. หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินการ ในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และทักษะในการทำวิจัย รวมถึงการเสวนาทางวิชาการที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลเชิงวิชาการ โดยเฉพาะการทำวิจัยในประเด็นที่ก่อให้เกิดประโยชน์และสามารถนำไปใช้ได้จริงในสังคม นอกจากนี้ หลักสูตรยังมีการกำหนดระบบ กลไก และการดำเนินการในการควบคุมและติดตามการทำดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดประเด็นในการทำวิจัยและการกำหนดอาจาร์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ และการบันทึกข้อมูลแสดงความก้าวหน้าของการทำวิจัย ดังแสดงผลการดำเนินงานที่มีแนวโน้มดีขึ้นในจำนวนของผู้สำเร็จการศึกษา และความสำเร็จในการใช้ระยะเวลาที่น้อยลงสำหรับการมีหัวข้องานวิจัยและการสอบผ่านโครงร่างงานดุษฎีนิพนธ์
  3. หลักสูตรมีความชัดเจนในการกำหนดระบบ กลไก และการดำเนินงาน รวมถึงการประเมินผลการดำเนินงาน ที่บริหารงานโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ที่ประกอบด้วยการบริหารงานและส่งเสริมรวมถึงการพัฒนาอาจารย์ที่ครบถ้วน ได้แก่ 1. อัตรากำลังของอาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ประจำหลักสูตรที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสัดส่วนของการดูแลนักศึกษาทั้งในเรื่องของการเรียนการสอนและการควบคุมงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 2. การกำหนดภาระงานที่ครบถ้วนของความเป็นอาจารย์ของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่ ภาระงานการสอนและการควบคุมการทำดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษา ภาระงานการทำวิจัย ภาระงานการบริการวิชาการ เป็นต้น โดยการสร้างประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมให้แก่สังคม และผลงานงานาวิจัยที่ได้รบการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติของอาจารย์ผู้รับชอบหลักสูตร 3. การจัดกิจกรรมในการพัฒนาทักษะความรู้ ทั้งความรู้ของสาขาวิชา ความรู้ในการจัดการเรียนการสอน และความรู้ในการทำวิจัย เป็นต้น แนวทางเสริม 1.หลักสูตรควรมีการส่งเสริมและพัฒนาการเผยแพร่งานวิจัยของอาจารย์เข้าสุ่การเผยแพร่งานวิจัยในระดับนานาชาติ เพื่อเพิ่มความสนใจในศักยภาพงานวิจัยในระดับนานาชาติ รวมถึงการผลักดันให้งานวิจัยของอาจารย์ได้รับการอ้างอิงจากภายนอก 2.หลักสูตรควรมีการวางแผนในการส่งเสริมให้อาจารย์รับทุนวิจัยจากภายนอกที่ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมมากขึ้น 3. หลักสูตรควรมีการจัดการเรื่องการจัดสรรภาระงานการเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมของอาจารย์ประจำหลักสูตร
  4. หลักสูตรได้กำหนดระบบ กลไก และแนวทางในการดำเนินงาน รวมถึงการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA ในการกำหนดผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับเกณฑ์มมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการวางระบบผู้สอนคือวุฒิการศึกษา ความเชี่ยวชาญและผลงานวิชาการที่สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ของสาระรายวิชา รวมถึงความครบถ้วนในการดำเนินการเรื่องการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่การมีหัวข้องานวิทยานิพนธ์ และกระบวนการติดตามความก้าวหน้าของอาจารย์ที่ปรึกษาในเรื่องของการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาเป็นประจำ เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาดำเนินการทำวิทยานิพนธ์อย่างต่อเนื่อง ดังแสดงเป็นแนวโน้มของจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีมากขึ้น ในขณะที่นักศึกษาที่เข้าใหม่ในปีการศึกษา 2566 ทุกคนมีการเสนอหัวข้องานวิทยานิพนธ์เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา 2566
  5. หลักสูตรได้ดำเนินการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียน หลักสูตรมีการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA ในการปรับสาระรายวิชา การปรับเปลี่ยนกระบวนการการเรียนการสอน และการปรับกลยุทธ์ที่ใช้ในการสอน เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและตอบสนองความต้องการของทั้งผู้เรียน และผู้ใช้บัณฑิต รวมถึงผ่านการพิจารณาในการให้ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่หลักสูตรให้ความสำคัญ ดังที่ได้เห็นจากผลการตอบรับที่ดีมากจากผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ใช้บัณฑิตและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ โดยการปรับปรุงเนื้อหารายวิชาและรูปแบบการเรียนการสอนให้ทันสมัย ซึ่งพิจารณาจากความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและจากการเข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ
  6. หลักสูตรมีความชัดเจนและให้ความสำคัญในการดำเนินงานอย่างครบถ้วนตามรูปแบบของ PDCA ในเรื่องของการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาและอาจารย์ เพื่อการทำงานวิจัยและการเรียนรู้ ซึ่งสามารถตอบรับความต้องการของทั้งนักศึกษาและอาจารย์ ดังแสดงความสำเร็จเป็นผลของความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากเป็นเวลา 3 ปีการศึกษาต่อเนื่อง โดยที่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
  7. หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีศักยภาพในการเรียนการสอนและการทำวิจัย รวมทั้งความมีชื่อเสียงและการเป็นที่ยอมรับของสาขาอาชญาวิทยา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรกำหนดแนวทางที่ชัดเจนในการรับนักศึกษาควบคู่กับเตรียมความพร้อมของนักศึกษาที่เข้าศึกษาในแผนการศึกษาที่แตกต่างกัน (แผนการทำวิจัย และแผนการเรียนรายวิชาและทำวิจัย) โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการเข้าสู่สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดในโครงสร้างของหลักสูตร โดยเฉพาะการ เตรียมความพร้อมเพื่อความสำเร็จของการทำดุษฎีนิพนธ์อย่างมีคุณภาพและสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสป.อว. พ.ศ.2558 โดยมีตัวอย่างของการประชาสัมพันธ์ส่วนที่เป็นจุดเด่นของหลักสูตร อาทิเช่น ความมีชื่อเสียงของคณาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รูปแบบการเรียนการสอนที่ตอบรับสังคมยุคดิจิทัลและการเรียนรู้ในศตวรรษที่21เน้นการเพิ่มความรู้และทักษะที่ได้รับจากผู้สอนที่มีชื่อเสียงและมีประสบการณ์ เป็นต้น
  2. การปรับแนวทางการประชาสัมพันธ์ให้ตรงกลุ่มเป้าหมายเพื่อเพิ่มยอดนักศึกษา
  3. หลักสูตรควรเพิ่มศักยภาพของงานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยของนักศึกษาให้ก้าวเข้าสู่ระดับนานาชาติ
  4. หลักสูตรควรเพิ่มเติมการจัดทำแผนงานการทำวิทยานิพนธ์เป็นรายบุคคล และวางแนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการก้าวสู่ความสำเร็จในการทำงานวิจัยให้เสร็จภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดไว้ในโครงสร้างของหลักสูตร

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.51
2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 4.38
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.99

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.45 4.45 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.33 - - 4.33 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.86 4.00 4.45 3.99 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก