รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

วันที่ประเมิน: 6 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 3 ท่าน ดังนี้
1. รศ.ดร.จีระ ประทีป
2. รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
3. รศ.ดร.ชนิดา จิตตรุทธะ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในเล่มรายงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในหลักฐานอ้างอิง
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ประจำหลักสูตร ได้แก่
1. รศ.ดร.จีระ ประทีป
2. รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
3. รศ.ดร.ชนิดา จิตตรุทธะ

4. ศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา

ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในเล่มรายงาน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในหลักฐานอ้างอิง และแนบหลักฐานเป็นผลงานวิชาการที่เป็น paper
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในเล่มรายงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในหลักฐานอ้างอิง
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในเล่มรายงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในหลักฐานอ้างอิง
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดเรื่องผลงานวิชาการของผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในเล่มรายงาน

- ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 2 ท่าน ระบุผลงานวิชาการไว้ท่านละ 3 เรื่อง (ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ปรับแก้ไขผลงานวิชาการของผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในหลักฐานอ้างอิง
- แนบผลงานวิชาการของผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเป็น paper
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แผน ก1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
แผน ก2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการ (proceedings)
แผน ข รายงานการค้นคว้าหรือส่วนหนึ่งของการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- จำแนกแหล่งตีพิมพ์เผยแพร่ เช่น ฐานข้อมูล TCI1,2 หรือรายงานการสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ขาดการ upload หลักฐานในระบบ DBS  รปม. 1.1.08  รายชื่อผู้สำเร็จการศึกษาและผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2566
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ให้ตรวจสอบจำนวนภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาให้สอดคล้องกับจำนวนที่แสดงในหลักฐานอ้างอิง
- ให้นับรวมภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาในหลักสูตร ป.เอก ด้วย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 36 4.60
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 15
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.60
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในเล่มรายงาน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดดังแสดงข้อแก้ไขในเล่มรายงาน  

(QA) ควรแนบเอกสารให้ถูกต้อง เอกสารในระบบ DBS ต้องเป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นถึงข้อมูลที่หลักสูตรสำรวจจากผู้ใช้บัณฑิตจริง เช่น 1. แบบฟอร์มการประเมิน 2. สรุปผลการประเมินฯ ไม่ใช่เอกสารที่เป็นการรายงานจาก RQF.7 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
27 12 0 6 0 0
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 8.70 2.22
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 49
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 17.76
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 2.22
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เชคจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดดังแสดงข้อแก้ไขในเล่มรายงาน
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.41 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรได้ประเมินผลการดำเนินการทั้งเรื่องการรับสมัครนักศึกษาและการเตรียมความพร้อม และนำผลประเมินดังกล่าวมาพิจารณาในการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA สำหรับการรับสมัครนักศึกษาและการเตรียมความพร้อม โดยมีเป้าหมายคือการเพิ่มยอดนักศึกษา และจำนวนของผู้สำเร็จการศึกษามีมากขึ้นโดยเฉพาะจำนวนนักศึกษาสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดในโครงสร้างของหลักสูตรมีจำนวนเพิ่มขึ้น นั่นคือ
1. การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ซึ้งเป็นกลุ่มข้าราชการท้องถิ่น ที่มีความรู้และประสบการณ์ที่สอดคล้องกับสาขาวิชา และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี
2. การให้ความสำคัญในการเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาเข้าใหม่ในประเด็นของการทำวิจัย โดยเฉพาะการสืบค้นข้อมูลและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ
ทำให้จำนวนนักศึกษาเข้าใหม่ตั้งแต่ปีการศึกษา2564 จนถึงปีการศึกษา 2566 มีจำนวนมากกว่าเป้าหมายที่วางไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละของเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้ง มีผลทำให้อัตราการคงอยู่อยู่ในเกณฑ์ดีมากและสัดส่วนของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดมีแนวโน้มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรได้ประเมินผลการดำเนินการเรื่องการรับสมัครนักศึกษาและนำผลประเมินดังกล่าวมาพิจารณาในการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA สำหรับการรับสมัครนักศึกษา โดยมีเป้าหมายคือการเพิ่มยอดนักศึกษา  นั่นคือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ซึ้งเป็นกลุ่มข้าราชการท้องถิ่น ที่มีความรู้และประสบการณ์ที่สอดคล้องกับสาขาวิชา และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ทำให้จำนวนนักศึกษาเข้าใหม่ตั้งแต่ปีการศึกษา2564 จนถึงปีการศึกษา 2566 มีจำนวนมากกว่าเป้าหมายที่วางไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละร้อยของเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(QA) จำนวนนักศึกษารับเข้าปีการศึกษา 2566 หน้า 77 (ระบุ 27คน) และหน้า 88 (ระบุ 26 คน) แก้ไขตัวเลขให้ถูกต้อง 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2564  หลักสูตรได้ประเมินผลการดำเนินการเรื่องการเตรียมความพร้อม และนำผลประเมินดังกล่าวมาพิจารณาในการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA สำหรับการเตรียมความพร้อม โดยมีเป้าหมายคือจำนวนของผู้สำเร็จการศึกษามีมากขึ้นโดยเฉพาะจำนวนนักศึกษาสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดในโครงสร้างของหลักสูตรมีจำนวนเพิ่มขึ้น นั่นคือ การให้ความสำคัญในการเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาเข้าใหม่ในประเด็นของการทำวิจัย โดยเฉพาะการสืบค้นข้อมูลและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ทำให้อัตราการคงอยู่อยู่ในเกณฑ์ดีมากและสัดส่วนของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดมีแนวโน้มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการดำเนินการที่ครบถ้วนตามรูปแบบของ PDCA ในเรื่องของการจัดกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา รวมถึงการจัดแนวทางเป็นขั้นตอนในการมีเป้าหมายที่ต้องการให้นักศึกษาสามารถทำงานวิจัยทั้งในกรณีของงานวิทยานิพนธ์และงานการศึกษาค้นคว้าอิสระได้สำเร็จจนสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด อาทิเช่น การจัดกิจกรรมการสัมมนา การให้ความรู้จากวิทยากร การจัดคลินิกงานวิจัย เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้สัดส่วนของการสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนดมีจำนวนมากขึ้น  รวมถึงอัตราการคงอยู่อยู่ในระดับดีมากเป็นเวลาสามปีต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เนื่องจากคุณภาพการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง ที่ต้องได้รับการปรับปรุงให้มีคุณภาพสูงขึ้น ดังนั้นหลักสูตรต้องมีการกำหนดแผนงานและมาตรการในการส่่งเสริมและพัฒนาคุณภาพในการสร้างผลงานวิชาการที่สอดคลัองกับยุทธศาสตร์ของชาติและเป็นประโยชน์ต่อสังคมที่นำไปใช้ได้จริง รวมถึงการเพิ่มการเผยแพร่ในแหล่งการเผยแพร่ผลงานในระดับที่เป็นที่รู้จักของสาขาวิชาและมีคุณภาพสูงขึ้น ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในลักษณะของวารสาร และการประชุมวิชาการ 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2546 เป็นหลักสูตร 2 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2547)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 97.06
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในเล่มรายงาน เช่น จำนวนตัวเลขให้ถูกต้อง 
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 33.33
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 47.06
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 63.89
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดในเล่มรายงาน เช่น จำนวนตัวเลขให้ถูกต้อง 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.40
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.40
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จากเล่ม มคอ.7 ปีการศึกษา 2565 ผลการประเมินความพึงพอใจแนวโน้ม 3 ปี  คือ ปี 2563 > 4.40  ปี 2564 > 4.40  และปี 2565 >4.50

และเล่ม RQF.7 ปีการศึกษา 2566  ผลการประเมินความพึงพอใจแนวโน้ม 3 ปี  คือ ปี 2564 > 4.40  ปี 2565 > 4.40  และปี 2566 >4.50  รบกวนหลักสูตรเชคตัวใหม่

>>>> หลักสูตรควรยึดเอกสารจากเล่ม มคอ.7 ของปีการศึกษา 2565 เป็นหลัก 

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-แนบเอกสารให้ถูกต้อง เอกสารในระบบ DBS ต้องเป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นถึงข้อมูลที่หลักสูตรสำรวจจากนักศึกษาจริง เช่น 1. แบบฟอร์มการประเมิน 2. สรุปผลการประเมินฯ ไม่ใช่เอกสารที่เป็นการรายงานจาก RQF.7 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มดีในทุกเรื่องทั้งอัตราการสำเร็จของนักศึกษา อัตราการคงอยู่ และความพึงพอใจของนักศึกษา ถึงแม้ว่าอัตราคงอยู่ของนักศึกษายังไม่ได้ตามเป้าหมายของมหาวิทยาลัยที่กำหนดไว้ ร้อยละ 90 ก็ยังถือว่ามีแนวโน้มที่ดี
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA ในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีของสถาบันเป็นผู้พิจารณา รวมทั้งมีาระบบการดำเนินงานเป็นขั้นตอนและเกณฑ์ในการพิจารณาที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมคอ1ของสาขารัฐประศาสนศาสตร์ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เนื่องจากหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีการควบคุมโดยมคอ.1 สาขาวิชารัฐประศาสนศษสตร์ด้วย ดังนั้นหลักสูตรควรมีความชัดเจนของแผนอัตรากำลัง เพื่อรองการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับทั้งมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ สป.อว. และมคอ.1

(QA) หลักสูตรไม่ได้กล่าวถึงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่เกษียณอายุ และการวางแผนอัตราทดแทน อาจารย์ที่เกษียณอายุ เนื่องจาก ตบช.4.3 ได้กล่าวไว้ว่ามีอาจารย์ผู้รับผิดชอบเกษียณอายุ 2 ท่าน และได้หาอาจารย์มาทดแทน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. หลักสูตรควรมีแนวทางของการจัดการการรองรับการจัดสรรภาระงานการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาทั้งงาานวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมในการทำงานดังกล่าว 
2. หลักสูตรควรมีแผนส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบเป็นรายบุคคล อาทิเช่น ด้านการเรียนการสอน ด้านงานวิจัย เป็นต้น โดยเฉพาะการมีผลงานวิจัยที่สอดคลองกับยุทธศาสตร์ของชาติและสามารถนำไปใช้ได้จริง รวมทั้งผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาขาติ
3. เนื่องจากปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีอาจารย์ใหม่ จึงเห็นควรกล่าวถึงการจัดงานปฐมนิเทศสำหรับนักศึกษาใหม่ด้วย
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- หลักฐานอ้างอิงแสดงโครงการที่เป็นกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ประจำปีการศึกษา 2566
- หลักสูตรควรแนบรายงานการประชุมเพื่อให้เห็นถึงการวางแผนอัตรากำลังทดแทนอาจารย์ท่านเดิม

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 0
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 3
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 100.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 80 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 0 4 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 2.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 86.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ปรับแก้ไขข้อผิดพลาดเล่มรายงาน RQF.7 และในหลักฐานอ้างอิง พร้อมแนบหลักฐานเป็นผลงานวิชาการที่เป็น paper หรือ Link ที่สามารถสืบค้นได้ง่าย
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 5.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
มีการปรับเปลี่ยนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เนื่องจากอาจารย์เกษียณอายุ หลักสูตรควรแนบรายงานการประชุมด้วย เพื่อให้เห็นถึงการวางแผนอัตรากำลังทดแทนอาจารย์ท่านเดิม
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีอัตราคงอยู่ และมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ตั้งแต่ปีการศึกษา2564 - ปัจจุบัน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

10
8
80.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุม ผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามมาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพทางรัฐประศาสนศาสตร์ รวมถึงการมีการประเมินผลการทบทวนระบบและกลไกซึ่งรองรับความต้องการของผู้เรียน และผู้ใช้บัณฑิต
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. หลักสูตรควรมีความชัดเจนในการบ่งบอกเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาที่ปรับเปลี่ยนที่ครอบคลุมประเด็นต่างๆของวิสัยทัศน์ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ซึ่งจะนำไปสู่การมีระบบ กลไก และการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลัก PDCA ของการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา เพื่อเข้าสู่เป้าหมายดังกล่าว โดยต้องมีการพิจารณาทบทวนกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้านด้วย
2. เนื่องจากการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษายังต้องได้รับการปรับปรุงคณภาพสูงขึ้น นั่นคือการเผยแพร่ในระดับชาติและระดับนานาชาติในแหล่งฐานข้อมูลการเผยแพร่ที่เป็นที่รู้จักของสาขาวิชาและมีระดับการยอมรับที่มีมาตรฐานสูง
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีรูปแบบการดำเนินงานตามหลักของ PDCA ในการกำหนดระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะการมุ่งเน้นให้นักศึกษาสามารถทำวิจัยได้สำเร็จโดยไม่ล่าช้าซึ่งทำให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดมีจำนวนมากขึ้น รวมถึงมีการจัดให้การเรียนการสอนในรูปแบบสัมมนาที่เชื่อมโยงกับการทำวิจัยของนักศึกษา ส่งผลให้นักศึกษามีประเด็นที่มาจากผลกระทบของสังคม ซึ่งคาดว่าจะนำไปสู่ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติต่อไป ทั้งนี้ การดำเนินการดังกล่าวได้สำเร็จมาจากความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของอาจารย์ประจำหลักสูตร และการเสวนาร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา

แนวทางเสริม
หลักสูตรควรเพิ่มทักษะในการทำวิจัยด้านการเพิ่มคุณภาพของงานวิจัยของนักศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการสังคมที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง รวมถึงความสามารถในการเผยแพร่ผลงานวิจัยในแหล่งฐานข้อมูลที่มีคุณภาพสูงขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้ดำนินกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ตำมกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ มีการตรวจสอบกำรประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษำ การกำกับการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) และการประเมินวิทยำนิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษำที่มีเป้าหมายในความสำเร็จของการทำวิจัยที่ไม่ล่าช้า ซึ่งส่งผลให้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรขาดความชัดเจนในการประเมินผู้เรียนที่ครอบคลุมผลลัพธ์ทั้ง 3 ด้าน
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีรูปแบบการดำเนินงานทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาใน 3 รายวิชาคิดเป็นร้อยละ 30 ของจำนวนรายวิชาทั้งหมดที่เปิดสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานแสดงแนวโน้มของความมีคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน รวมถึงความชัดเจนในผลที่เกิดขึ้นจากการทวนสอบเมื่อเทียบกับความคาดหวังที่หลักสูตรกำหนด
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุม จำนวน 4 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรเปิดทำการสอนจำนวน 10 รายวิชา มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ จำนวน 3 วิชา  1. PAD 611 แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1/66  2. PAD 612 องค์การ และการจัดการภาครัฐ ภาคเรียนที่ 1/66  3. PAD 603 วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/66 คิดเป็นร้อยละ 30
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรต้องประเมิน เนื่องจากมีอาจารย์ใหม่ 2 ท่าน คือ รศ.ดร.จีระ ประทีป และ รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- แนบเอกสารให้ครบถ้วน เช่น รายงานการประชุม 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร = 4.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-(QA) ควรแนบเอกสารให้ถูกต้อง เอกสารในระบบ DBS ต้องเป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นถึงข้อมูลที่หลักสูตรสำรวจจริง เช่น 1. แบบฟอร์มการประเมิน 2. สรุปผลการประเมินฯ ไม่ใช่เอกสารที่เป็นการรายงานจาก RQF.7 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ = 4.60 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- -(QA) ควรแนบเอกสารให้ถูกต้อง เอกสารในระบบ DBS ต้องเป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นถึงข้อมูลที่หลักสูตรสำรวจจริง เช่น 1. แบบฟอร์มการประเมิน 2. สรุปผลการประเมินฯ ไม่ใช่เอกสารที่เป็นการรายงานจาก RQF.7 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา  = 4.67
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน = 4.71
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-(QA) ควรแนบเอกสารให้ถูกต้อง เอกสารในระบบ DBS ต้องเป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นถึงข้อมูลที่หลักสูตรสำรวจจริง เช่น 1. แบบฟอร์มการประเมิน 2. สรุปผลการประเมินฯ ไม่ใช่เอกสารที่เป็นการรายงานจาก RQF.7 
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีความชัดเจนและให้ความสำคัญในการดำเนินงานอย่างครบถ้วนตามรูปแบบของ PDCA ในเรื่องของการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาและอาจารย์ เพื่อการทำงานวิจัยและการเรียนรู้ ซึ่งสามารถตอบรับความต้องการของทั้งนักศึกษาและอาจารย์ ดังแสดงความสำเร็จเป็นผลของความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากเป็นเวลา 3 ปีการศึกษาต่อเนื่อง โดยที่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ทั้งนี้ หลักสูตรได้มีอุปกรณ์สารสนเทศ อุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ สำหรับประกอบการเรียนการ สอนแบบออนไลน์เพิ่มมากขึ้น อาทิ อุปกรณ์อิเล็คทรอนิค ถ่ายทอดสื่อการสอนของหลักสูตรฯ สำหรับใช้สนับสนุนการเรียนการสอนอย่างครบถ้วน  มีการประเมินผลการสนับสนุนสิ่งเรียนรู้ที่ดี

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- เพิ่มหลักฐานการสำรวจความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา 
- เพิ่มหลักฐานการสำรวจความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

- รศม.6.1.01 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ออนไลน์ มีแค่ โปรแกรม Zoom ที่ใชในการจดัการเรียนการสอนแบบ Online เท่านั้น

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรได้ประเมินผลการดำเนินการเรื่องการรับสมัครนักศึกษาและนำผลประเมินดังกล่าวมาพิจารณาในการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA สำหรับการรับสมัครนักศึกษา โดยมีเป้าหมายคือการเพิ่มยอดนักศึกษา นั่นคือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ซึ้งเป็นกลุ่มข้าราชการท้องถิ่น ที่มีความรู้และประสบการณ์ที่สอดคล้องกับสาขาวิชา และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ทำให้จำนวนนักศึกษาเข้าใหม่ตั้งแต่ปีการศึกษา2564 จนถึงปีการศึกษา 2566 มีจำนวนมากกว่าเป้าหมายที่วางไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละร้อยของเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง
  2. ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรได้ประเมินผลการดำเนินการเรื่องการเตรียมความพร้อม และนำผลประเมินดังกล่าวมาพิจารณาในการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA สำหรับการเตรียมความพร้อม โดยมีเป้าหมายคือจำนวนของผู้สำเร็จการศึกษามีมากขึ้นโดยเฉพาะจำนวนนักศึกษาสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดในโครงสร้างของหลักสูตรมีจำนวนเพิ่มขึ้น นั่นคือ การให้ความสำคัญในการเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาเข้าใหม่ในประเด็นของการทำวิจัย โดยเฉพาะการสืบค้นข้อมูลและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ทำให้อัตราการคงอยู่อยู่ในเกณฑ์ดีมากและสัดส่วนของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดมีแนวโน้มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  3. หลักสูตรมีการดำเนินการที่ครบถ้วนตามรูปแบบของ PDCA ในเรื่องของการจัดกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา รวมถึงการจัดแนวทางเป็นขั้นตอนในการมีเป้าหมายที่ต้องการให้นักศึกษาสามารถทำงานวิจัยทั้งในกรณีของงานวิทยานิพนธ์และงานการศึกษาค้นคว้าอิสระได้สำเร็จจนสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด อาทิเช่น การจัดกิจกรรมการสัมมนา การให้ความรู้จากวิทยากร การจัดคลินิกงานวิจัย เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้สัดส่วนของการสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนดมีจำนวนมากขึ้น รวมถึงอัตราการคงอยู่อยู่ในระดับดีมากเป็นเวลาสามปีต่อเนื่อง
  4. หลักสูตรมีการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลักของ PDCA ในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีของสถาบันเป็นผู้พิจารณา รวมทั้งมีาระบบการดำเนินงานเป็นขั้นตอนและเกณฑ์ในการพิจารณาที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมคอ1ของสาขารัฐประศาสนศาสตร์ >>><แนวทางเสริม<<<< เนื่องจากปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีอาจารย์ใหม่ จึงเห็นควรกล่าวถึงการจัดงานปฐมนิเทศสำหรับนักศึกษาใหม่ด้วย
  5. หลักสูตรมีระบบกลไกการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุม ผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามมาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพทางรัฐประศาสนศาสตร์ รวมถึงการมีการประเมินผลการทบทวนระบบและกลไกซึ่งรองรับความต้องการของผู้เรียน และผู้ใช้บัณฑิต >>>>แนวทางเสริม<<<< หลักสูตรเพิ่มความชัดเจนในการประเมินผู้เรียนที่ครอบคลุมผลลัพธ์ทั้ง 3 ด้าน
  6. หลักสูตรมีรูปแบบการดำเนินงานตามหลักของ PDCA ในการกำหนดระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะการมุ่งเน้นให้นักศึกษาสามารถทำวิจัยได้สำเร็จโดยไม่ล่าช้าซึ่งทำให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดมีจำนวนมากขึ้น รวมถึงมีการจัดให้การเรียนการสอนในรูปแบบสัมมนาที่เชื่อมโยงกับการทำวิจัยของนักศึกษา ส่งผลให้นักศึกษามีประเด็นที่มาจากผลกระทบของสังคม ซึ่งคาดว่าจะนำไปสู่ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติต่อไป ทั้งนี้ การดำเนินการดังกล่าวได้สำเร็จมาจากความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของอาจารย์ประจำหลักสูตร และการเสวนาร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา >>>>แนวทางเสริม<<<< หลักสูตรควรเพิ่มทักษะในการทำวิจัยด้านการเพิ่มคุณภาพของงานวิจัยของนักศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการสังคมที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง รวมถึงความสามารถในการเผยแพร่ผลงานวิจัยในแหล่งฐานข้อมูลที่มีคุณภาพสูงขึ้น
  7. หลักสูตรได้ดำนินการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การกำกับการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) และการประเมินวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีเป้าหมายในความสำเร็จของการทำวิจัยที่ไม่ล่าช้า ซึ่งส่งผลให้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด รวมถึงยังมีการดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจำนวน 3 รายวิชาซึ่งคิดเป็นร้อยละ 30 ของจำนวนรายวิชาทั้งหมดที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2566
  8. หลักสูตรมีความชัดเจนและให้ความสำคัญในการดำเนินงานอย่างครบถ้วนตามรูปแบบของ PDCA ในเรื่องของการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาและอาจารย์ เพื่อการทำงานวิจัยและการเรียนรู้ ซึ่งสามารถตอบรับความต้องการของทั้งนักศึกษาและอาจารย์ ดังแสดงความสำเร็จเป็นผลของความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากเป็นเวลา 3 ปีการศึกษาต่อเนื่อง โดยที่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ทั้งนี้ หลักสูตรได้มีอุปกรณ์สารสนเทศ อุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ สำหรับประกอบการเรียนการ สอนแบบออนไลน์เพิ่มมากขึ้น อาทิ อุปกรณ์อิเล็คทรอนิค ถ่ายทอดสื่อการสอนของหลักสูตรฯ สำหรับใช้สนับสนุนการเรียนการสอนอย่างครบถ้วน มีการประเมินผลการสนับสนุนสิ่งเรียนรู้ที่ดี
  9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบของหลักสูตรมีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์และมีชื่อเสียงที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. เนื่องจากคุณภาพการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง ที่ต้องได้รับการปรับปรุงให้มีคุณภาพสูงขึ้น ดังนั้นหลักสูตรต้องมีการกำหนดแผนงานและมาตรการในการส่่งเสริมและพัฒนาคุณภาพในการสร้างผลงานวิชาการที่สอดคลัองกับยุทธศาสตร์ของชาติและเป็นประโยชน์ต่อสังคมที่นำไปใช้ได้จริง รวมถึงการเพิ่มการเผยแพร่ในแหล่งการเผยแพร่ผลงานในระดับที่เป็นที่รู้จักของสาขาวิชาและมีคุณภาพสูงขึ้น ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในลักษณะของวารสาร และการประชุมวิชาการ
  2. เนื่องจากหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีการควบคุมโดยมคอ.1 สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ด้วย ดังนั้นหลักสูตรควรมีความชัดเจนของแผนอัตรากำลัง เพื่อรองการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับทั้งมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ สป.อว. และมคอ.1
  3. หลักสูตรควรมีความชัดเจนในการบ่งบอกเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาที่ปรับเปลี่ยนที่ครอบคลุมประเด็นต่างๆของวิสัยทัศน์ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ซึ่งจะนำไปสู่การมีระบบ กลไก และการดำเนินการที่ครบถ้วนตามหลัก PDCA ของการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา เพื่อเข้าสู่เป้าหมายดังกล่าว โดยต้องมีการพิจารณาทบทวนกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้านด้วย
  4. หลักสูตรควรมีแนวทางของการจัดการการรองรับการจัดสรรภาระงานการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาทั้งงานวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมในการทำงานดังกล่าว 
  5. หลักสูตรควรมีแผนส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบเป็นรายบุคคล อาทิเช่น ด้านการเรียนการสอน ด้านงานวิจัย เป็นต้น โดยเฉพาะการมีผลงานวิจัยที่สอดคลองกับยุทธศาสตร์ของชาติและสามารถนำไปใช้ได้จริง รวมทั้งผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาขาติ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.60
2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์และหรือเผยแพร่ 2.22
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.83

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 3.41 3.41 ระดับคุณภาพดี
3 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.86 4.00 3.41 3.83 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี