รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

วันที่ประเมิน: 24 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบ และเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. อ.ศิวพล ละอองสกุล
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้ง 5 คน มีคุณสมบัติและผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. อ.ศิวพล ละอองสกุล
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณสมบัติและผลงานวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 65 4.29
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 49
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.29
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 65 4.66
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 58
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 23
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 11
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 7
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 3
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 7
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 4
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 3
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 93.18
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.66
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อัตราการมีงานทำและการประกอบกิจการส่วนตัวสูงมาก อย่างต่อเนื่อง 
แนวทางเสริม  
- อาจมีกิจกรรมแนะนำการทำงานให้กับนักศึกษาปัจจุบัน  โดยเชิญศินย์เก่าที่เพิ่งสำเร็จการศึกษา  มาแบ่งปันประสบการณ์ให้กับนักศึกษารุ่นน้อง

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.48 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น หลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาแรกเข้าเป็นจำนวนที่สูงกว่าเป้าหมายและมีจำนวนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการมีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่ต่อเนื่องและมีโครงการที่ช่วยเสริมเรื่องการประชาสัมพันธ์อย่างโครงการประกวดสุนทรพจน์ที่เป็นโครงการต่อเนื่องและมีนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายโดยตรงเข้าร่วม
แนวทางเสริม หากหลักสูตรมีการสอบถามนักศึกษาเมื่อแรกสมัคร ถึงช่องทางการรับรู้ข่าวสารประชาสัมพันธ์ของหลักสูตร หรือการเคยเข้าร่วมโครงการของหลักสูตร จะช่วยให้หลักสูตรมีข้อมูลตอบกลับจากการประชาสัมพันธ์ต่างๆที่ส่งออกไป และใช้เป็นแนวทางการประชาสัมพันธ์เพื่อรับนักศึกษาของหลักสูตรได้

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จุดเด่น หลักสูตรมีการเตรียมความพร้อมทั้งด้านการให้ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นผ่านรายวิชา RSU111 ซึ่งมีทั้งกิจกรรมปฐมนิเทศ และการแนะนำการใช้สิ่งสนับสนุนของมหาวิทยาลัย และการให้ความรู้ทางวิชาการ ผ่านกิจกรรมอบรมให้ความรู้ และมีการกำหนดเป้าหมายของจำนวนผู้เข้าร่วมและประเมินผลตามเป้าหมาย
แนวทางเสริม
เพื่อให้การเตรียมความพร้อมด้านวิชาการสอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของนักศึกษาใหม่ อาจทำการสอบถามหัวเรื่องที่นักศึกษา ปี  1 มีความสนใจ หรือนักศึกษามีความเห็นว่าควรได้มีการปรับพื้นฐานก่อนเปิดเรียน และลองพิจารณาเลือกใช้ในปีการศึกษาต่อไป อาจตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง และมีนักศึกษาเข้าร่วมมากขึ้น

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรพิจารณาปรับปรุงแผนการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ก่อนเรียน ด้วยการใช้ข้อมูลเกี่ยวข้อง เช่น  ผลการเรียนในระดับรายวิชา ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย  ประสบการณ์ หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถพื้นฐานที่ทางหลักสูตรเห็นว่ามีความจำเป็นที่นักศึกษาควรมีมาก่อน เพื่อกำหนดหัวข้อการเตรียมความพร้อม และวัตถุประสงค์การเตรียมความพร้อม
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จุดเด่น
 หลักสูตรมีระบบการให้คำปรึกษาทางวิชาการแก่นักศึกษา 2 ระบบ คือ
1) ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้คำปรึกษาทั้งเรื่องการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย และ 2) มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในรายวิชาสหกิจศึกษาและวิชาการค้นคว้าอิสระ ที่หลักสูตรมีการสร้าง “คู่มือพกสำหรับงานนวิจัย” ซึ่งช่วยสนับสนุนกระบวนการทำวิจัยให้กับนักศึกษาได้อย่างดี รวมทั้งมีผลการประเมินการใช้ คู่มือพกสำหรับงานวิจัยที่อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดในทุกๆประเด็น

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จุดเด่น หลักสูตรมีเป้าหมายในการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีหลากหลายรูปแบบในการนำเสนอผลงาน เช่น มีการใช้ Collage Art, Pop up Book ในการสร้างสรรค์งานนำเสนอ เป็นต้น รวมทั้งมีการวัดผล โดยการประเมินทักษะด้านนี้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนทั้งหมดในรายวิชา
แนวทางเสริม หลักสูตรสามารถเพิ่มเติมทักษะการพัฒนาด้านอื่นๆที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้กับนักศึกษา เช่น ทักษะด้านภาษา,ทักษะด้านการทำงานเป็นทีม เป็นต้น

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการปรับปรุงระบบและกลไกการดูแลให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี  ซึ่งทำให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะด้านการวิจัย  และมีแรงจูงใจในการทำผลงานให้มีคุณภาพ  ทางหลักสูตรได้ติดตามความพึพอใจของนักศึกษา   
แนวทางเสริม ลองใช้แนวทางนี้อีกครั้งในปีการศึกษา 2567  และเพิ่มแรงจูงใจนักศึกษา  ในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมให้ครบขั้นตอน  ตั้่งแต่ต้นจนถึงการ UP Load ผลงาน และการแสดงความพึงพอใจ 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 76.24
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 67.39
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 72.60
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
แนวทางเสริม อัตราการคงอยู่ของนักศึกษายังไม่คงที่ ซึ่งอาจเป็นผลจากหลายๆ ปัจจัยภายนอกที่หลักสูตรควบคุมไม่ได้ เช่น ความนิยมในมหาวิทยาลัยของรัฐบาล, การเปลี่ยนสายการเรียน เป็นต้น ดังนั้นในส่วนที่หลักสูตรสามารถดำเนินการได้ เช่น สร้างความผูกพัน และความรักในสถาบันตั้งแต่ปีแรกๆที่เข้ามาศึกษา ผ่านระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่เข้มแข็ง หรือเน้นผู้พันระหว่างรุ่นพี่-รุ่นน้อง ผ่านการทำกิจกรรมต่างๆของหลักสูตร หรือของสโมสรนักศึกษา อาจเป็นส่วนช่วยเสริมอัตราการคงอยู่ให้ดีขึ้นได้
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรวิเคราะห์อัตราการคงอยู่ เทียบกับจำนวนรับเข้าในแต่ละปี และค้นหาสาเหตุ การตกออกกลางค้น เนื่องจากเหตุใด  
 
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 60.40
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 51.09
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 31.51
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ปัจจัยที่มีผลการสำเร็จการศึกษา  น่าจะมีสาเหตุอื่น การเข้มงวดของอาจารย์ผู้สอน ถ้าสอนดี และเข้มงวดคงไม่น่าจะมีผล  เสนอให้พิจารณาความพร้อมของนักศึกษา พฤติกรรมการเรียน รวมทั้งการเอาใจใส่ของอ.ที่ปรึกษา ในการวางแผนการเรียนที่จะให้นักศึกษาสามารถเรียนต่อจนสำเร็จ
 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.77
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.87
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.64
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีแนวโน้มดีในเรื่องความพึงพอใจของนักศึกษา และมีระบบการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษาที่ชัดเจน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่พิจารณาทั้งวุฒิการศึกษา ความเชี่ยวชาญ และการมีผลงานวิจัยทางด้านรัฐศาสตร์ในรอบ 5 ปี 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบการบริหารอาจารย์ที่เป็นภาระงานเป็น 4 ด้านอย่างชัดเจน (การสอน, การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา, การทำงานวิจัย, การร่วมกิจกรรมของคณะ)
รวมทั้งมีเป้าหมายของการดำเนินงานตามภาระงานแต่ละด้าน ซึ่งในการรายงานผลการดำเนินการ อยากให้หลักสูตรรายงานผลการดำเนินการให้ครบทั้ง 4 ด้าน

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรสามารถส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ความสามารถได้หลายทาง ซึ่งหลักสูตรอาจมีการดำเนินการอยู่แล้ว แต่ไม่ได้รายงาน เช่น การเข้าร่วมฝึกอบรม การเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ ที่ช่วยเสริมความเชี่ยวชาญด้านการสอนและการทำวิจัยของอาจารย์ การที่อาจารย์ได้รับเชิญเป็นวิทยากร เป็นผู้เชี่ยวชาญให้ความรู้ในประเด็นต่างๆ ซึ่งแสดงถึงความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และสามารถถ่ายทอดให้กับนักศึกษาเพื่อเป็นกรณีศึกษาได้เป็นปัจจุบัน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่คุณวุฒิปริญญาเอกร้อยละ 60 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรวางแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  โดยกำหนดเป้าหมายการดำรงตำแหน่งทางวิชาการ  และประชุมคณะกรรมการหลักสูตรเพื่อวางมาตรการส่งเสริมให้บรรลุเป้าหมาย
 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 1 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.40 2.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 8.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 2.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มจำนวนผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ  ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 
แนวทางปรับปรุง   การทำวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร   ทำวิจัยข้ามศาสตร์โดยร่วมกับคณะวิชาอื่น หรือสถาบันอื่นที่มีเครือข่าย  การทำวิจัยร่วมกับนักศึกษาจะเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ทำให้เกิดผลงานวิจัยได้  

 
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีแนวโน้มที่ดีของการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและมีการวางอัตรากำลังและการทดแทนในกรณีเกษียณไว้ล่วงหน้า
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.66
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.70
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.76
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีแนวโน้มที่ดี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          มีการรายงานครบทุกประเด็นเกี่ยวกับอาจารย์   รวมทั้งอัตราการคงอยู่  และความพึงพอใจของอาจารย์ประจำ  มีแนวโน้มที่ดีอย่างต่อเนื่อง
 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

41
33
80.49
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการปรับสาระรายวิชาให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและมีการปรับรูปแบบของหลักสูตร สิ่งใดที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของนักศึกษา/ตลาดแรงงาน  (ปริญญาตรีใบที่ 2) ก็พร้อมจะปรับให้สอดคล้องกับความต้องการมากขึ้น
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการปรับสาระรายวิชาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและเชื่อมโยงกับการนำไปใช้จริง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- คณะกรรมการหลักสูตร ได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. 2568   ซึ่งอยู่ในระหว่างขั้นตอนการพิจารณาของมหาวิทยาลัย  เนื่องจากหลักสูตรฉบับปรับปรุงนี้  เป็นไปตามหลักการ OBE  ดังนั้นจึงขอเสนอแนวทางเสริม ดังนี้

          ควรทำความเข้าใจกับอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนทุกท่าน  เกี่ยวกับผลลัพธ์การเรียนรู้  เพื่อให้มีการเตรียมตัวในการวางแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ที่จะต้องมีการกำหนด CLO  การวางกลยุทธการสอนและการวัดประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้   ซึ่งจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามหลักสูตรกำหนด  โดยเฉพาะเกณฑ์การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้  รวมทั้งการรายงานผล ที่จะต้องแยกกันระหว่าง  ผลลัพธ์การเรียนรู้ กับ เกรด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการ การทำวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย เข้ากับรายวิชาต่างๆของหลักสูตรได้ครบทุกด้าน และมีเป้าหมายของการดำเนินการในแต่ละประเด็น เช่น การบูรณาการเข้ากับงานวิจัยซึ่งนักศึกษาแต่ละคนจะต้องมีงานวิจัยเล็กๆ 1 ชิ้นก่อนสำเร็จการศึกษา, การบูรณาการกับการบริการวิชาการ ซึ่งต้องการให้นักศึกษามีประสบการณ์ทำงานแบบจิตสาธารณะ และ การบูรณาการกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยซึ่งนักศึกษาจะได้มีความรู้ความเข้าใจถึงความจำเป็นของหลักการที่ยึดถือร่วมกัน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรมีการวางแผนปฏิบัติการอย่างชัดเจน  ในกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการการสอนกับการบริการวิชาการ  ที่จะให้นักศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วม โดยใช้กระบวนการเรียนรู้  นอกจากนี้เมื่อดำเนินการกิจกรรมหรือโครงการดังกล่าวแล้ว  จำเป็นต้องมีการประเมินผลเพื่อรายงานความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ อย่างชัดเจน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการทวนสอบโดยการทำ Post Test ใน 19 รายวิชา ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 46.34 ของรายวิชาทั้งหมดที่เปิดสอน และมีผลคะแนนจากการทวนสอบส่วนใหญ่สูงกว่า 60% โดยมีเพียง 2 รายวิชาที่คะแนนทวนสอบไม่ถึง 50% ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า มีจำนวนนักศึกษาเข้าทวนสอบในรายวิชาดังกล่าวค่อนข้างน้อยกว่ารายวิชาอื่นๆ 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีการปรับปรุงระบบการติดตามประเมินผู้เรียน โดยใช้ข้อสอบ Post Test  แต่ไม่พบในรายงานว่ามีการ Pre test หรือ ไม่   
           ดังนั้นขอให้เพิ่มเติมการรายงานผลการปรับปรุงการดำเนินงาน เพื่อความสมบูรณ์แบบ

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- เอกสารหลักฐานการแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบ 
- การรายงานผลการทวนสอบ
- การรายงานผลการตรวจทานการประเมินผล

 

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรกำหนดเป้าหมายการพัฒนาอาจารย์ ในแผนพัฒนาบุคลากร   เพื่อให้ครอบคลุม การพัฒนาทั้งด้านวิชาการ และวิจัย
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มการสำรวจความต้องการในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ทั้งของ นักศึกษา และอาจารย์  เพื่อให้มั่นใจว่า  สิ่งที่มีอยู่นั้นเพียงพอ  ทันสมัย  และพร้อมใช้
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ 60 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
  2. หลักสูตรมีการวางระบบและกลไกในการรับนักศึกษา โดยมีทั้งการประชาสัมพันธ์และมีโครงการที่จัดให้กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้จำนวนนักศึกษาแรกเข้ามีจำนวนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2563
  3. หลักสูตรมีระบบการให้คำปรึกษาทางวิชาการแก่นักศึกษา 2 ระบบ คือ ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้คำปรึกษาทั้งเรื่องการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย และมีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในรายวิชาสหกิจศึกษาและวิชาการค้นคว้าอิสระ ที่หลักสูตรมีการสร้าง “คู่มือพกสำหรับงานนวิจัย” ซึ่งช่วยสนับสนุนกระบวนการทำวิจัยให้กับนักศึกษาได้อย่างดี รวมทั้งมีผลการประเมินการใช้ คู่มือพกสำหรับงานวิจัยที่อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดในทุกๆประเด็น

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทางวิชาการของอาจารย์ ในปีการศึกษา 2566 เป็นจุดที่ควรปรับปรุงอย่างมาก เนื่องจาก ไม่พบกระบวนการหรือแผนงานในด้านนี้ ขอเสนอให้มีดำเนินการในปีการศึกษา 2567 ดังนี้ 1. แผนพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล ที่มีเป้าหมายการพัฒนาตนเองในรอบ 5 ปี อย่างชัดเจน 2. ประกาศแนวทางการส่งเสริมให้บุคลากรบรรลุเป้าหมายการพัฒนาตนเอง
  2. กระบวนการรับและเตรียมความพร้อม การส่งเสริมพัฒนานักศึกษา ไม่ส่งผลต่ออัตราการสำเร็จและอัตราการคงอยู่ ตามที่รายงานไม่มีแนวโน้มที่น่าพอใจ ขอเสนอให้ดำเนินการปรับปรุง ในปีการศึกษา 2567 ดังนี้ 1. ปรับระบบการดูแลนักศึกษา การให้คำปรึกษา การให้ข้อมูลข่าวสาร โดยสร้างความใกล้ชิดและทำให้นักศึกษามีความร่วมมือกับหลักสูตรหรืออาจารย์ในหลักสูตร 2. ปรับกิจกรรมหรือโครงการพัฒนานักศึกษา ให้มีความน่าสนใจ โดยให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน
  3. หลักสูตร และกระบวนการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากเข้าสู่การดำเนินงานหลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2568 จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมความพร้อมในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ โดยขอเตรียมการดังนี้ 1. ประชุมทำความเข้าใจกับอาจารย์ประจำ และอาจารย์ผู้สอน และนักศึกษา เกี่ยวกับ PLO CLO YLO 2. เตรียมความพร้อมให้กับอาจารย์ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ และการรายงานผล 3. วางระบบการกำกับดูแลการดำเนินงานการสอนและการประเมินผุ้เรียน 4. ปรับระบบการทวนสอบ ที่มุ่งสู่การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.29
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.66
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.45

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.48 4.48 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.30 - - 3.30 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.13 3.50 4.48 3.45 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก