รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์

วันที่ประเมิน: 18 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
          - อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบถ้วน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
          - หลักสูตร ได้ระบุ รายละเอียดคุณสมบัติอาจารย์ครบถ้วน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
          - ได้ระบุชื่ออาจารย์และรายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
          - คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำผ่าน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
          - คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษผ่าน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
          - หลักสูตรได้ปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 63 4.83
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 21
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.83
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - คะแนนเฉลี่ยรวมสูง สะท้อนถึงผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 2561
          - มีการรายงานค่าคะแนนคุณภาพบัณฑิตในแต่ละด้านถึงที่มาของคะแนนในผลการดำเนินงานโดยละเอียด และมีคะแนนผลลัพธ์การเรียนรู้ย่อยสูงในทุกด้าน และมีค่าผลประเมินฯ เกิน 4.70 ขึ้นไป ยกเว้นเพียงความพึงพอใจย่อยในด้านความรู้เรื่องความรอบรู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานที่มีผลประเมินเฉลี่ย 4.48

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 63 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 47
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 29
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 1
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 4
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 8
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 2
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 3
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำสูง 
          - หลักสูตรมีการรายงานผลการดำเนินงานที่ครอบคลุมการวิเคราะห์ SWOT ชี้ให้เห็นถึงปัจจัยภายนอกที่เป็นแรงสนับสนุนให้วิชาชีพเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน และตอบรับภาระเศรษฐกิจของประเทศ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.92 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          - หลักสูตรมีผลการดำเนินงานด้านการรับนักศึกษาที่ดี สามารถเพิ่มจำนวนนักศึกษาแรกเข้าได้อย่างต่อเนื่องทุกปี และเป็นไปตามเป้าการรับนักศึกษา [ขั้นต่ำ 50 คนต่อปี] รวมทั้งมีการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา โดยมีการปรับทัศนคติด้านวิชาชีพและพัฒนาบุคลิกภาพด้านภาวะจิตใจและอารมณ์ก่อนเข้าเรียน ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่ดีแต่ยังขาดการถ่ายทอดการจัดการความรู้ (KM) ผ่านระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต
          - มีระบบการรับนักศึกษา และ การประเมินผล เพื่อปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาในปี 2565
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - หลักสูตรมียอดรับนักศึกษามากกว่าแผนการรับที่ระบุในมคอ.2 อย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มจากปี 2563-2564 และปี 2564-2565 เท่ากับ 1.3 และ 1.5 เท่า แสดงให้เห็นถึงกระบวนการในการวางแผนการรับนักศึกษาในช่องทางต่างๆเป็นอย่างดี โดยเฉพาะมีการทำ MOU กับสถาบันอาชีวศึกษาอย่างต่อเนื่อง
          - มีการนำจุดเด่นผลงานของอาจารย์ และ นักศึกษา มาประชาสัมพันธ์เพื่อ รับนักศึกษา

          - ผลจากการประเมินกระบวนการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2564 จากที่ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พบว่า ควรเพิ่มจำนวนนักศึกษารับเข้าในปีการศึกษา 2565 ให้ได้จำนวนมากขึ้น เนื่องจากการปรับหลักสูตรตามแนวทางการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่นั้น สามารถสร้างวิศวกรชีวการแพทย์ที่มีสมรรถนะสูง รองรับสำหรับอุตสาหกรรม New Growth Engine ตามนโยบาย Thailand 4.0  นั้นน่าจะมีผู้สนใจสมัครเรียนมากขึ้น จากผลการประเมินดังกล่าวจึงนำมาสู่ปรับปรุงกระบวนการรับและคัดเลือกนักศึกษาเพื่อให้ได้ผู้เรียนที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ของหลักสูตรจำนวนมากขึ้น มีการกำหนดเกณฑ์การคัดเลือกที่มีความโปร่งใส ชัดเจน  เพิ่มกลยุทธในการรับนักศึกษา ทั้งการใช้เครื่องมือประชาสัมพันธ์หลักสูตรในเชิงรุกมากขึ้น โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียหลายช่องทาง การประชาสัมพันธ์เชิงรุกและเพิ่มความถี่ในการประชาสัมพันธ์ไปยังโรงเรียนต่างๆ  ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับอาชีวศึกษา ทั้งนี้หลักสูตรมีกลยุทธ์ในการเพิ่มจำนวนนักศึกษาด้วยการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ เพื่อมอบทุนการศึกษาในการเรียนต่อกับวิทยาลัยฯ การทำเช่นนี้ หลักสูตรจะได้นักศึกษาที่มีคุณสมบัติตรงกับธรรมชาติของหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ทำให้ได้นักศึกษาที่มีโอกาสสำเร็จการศึกษา และจบไปทำงานตามเป้าหมายของหลักสูตรด้วย ลดอัตราการตกออกกลางคันของนักศึกษาได้อีกทางหนึ่งด้วย แต่หลักสูตรควรเชื่อมโยงการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าวกับกิจกรรม/โครงการ ที่ระบุไว้ในเอกสารหลักฐานในระบบ DBS ซึ่งมีมากถึง 8 เอกสารหลักฐาน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
          - สืบเนื่องจากการรับนักศึกษาเข้าเรียนได้มาก ควรคำนึงถึงอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาที่มีค่าเฉลี่ยของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 เรียนต่อในชั้นปีที่ 4 เท่ากับ 89.46%
          - ไม่พบ KM แนวปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จ และถ่ายทอดเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัย ในเรื่อง การรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ ในปีการศึกษา 2565

 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - มีการจัดเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนทั้งด้านทักษะวิชาการและทัศนคติต่อวิชาชีพในรูปแบบรายวิชาเบื้องต้นและโครงการเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านภาวะจิตใจและอารมณ์ก่อนเข้าเรียน โดยมีการพัฒนากระบวนการอย่างต่อเนื่อง
          - กิจกรรมเตรียมความพร้อมต่างๆ น่าเชื่อว่าส่งผลให้อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ขึ้นปีที่ 2 สูงถึงร้อยละ 90 ต่อเนื่องกันมาโดยตลอด โดยเฉพาะปีการศึกษา 2565 มีอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ขึ้นปีที่ 2 สูงถึงร้อยละ 95.45

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
          - ควรระบุให้เห็นชัดเจนว่า การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ ช่วยให้นักศึกษามีความพร้อมในการเรียนชั้นปีที่ 1 และลดการตกออกได้ เช่น รายงานผลร้อยละนักศึกษาที่มีความพร้อมตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมการเตรียมความพร้อมนั้นๆ หลังเข้าร่วมกิจกรรม เทียบกับค่าเป้าหมายของกิจกรรม เพื่อนำผลประเมินฯ ไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการต่อไป
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          - หลักสูตรมีระบบกลไกในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา มีผลการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีผลลัพธ์ที่ดีเกินค่าเป้าหมาย จนถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดี ซึ่งควรถ่ายทอดแนวปฏิบัตินี้ผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต
          - มีระบบและกลไก การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาชัดเจน และ ต่อเนื่อง ทำให้นักศึกษามีผลงานได้รับรางวัลโดยตลอด

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - มีการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี
          - หลักสูตรประสบความสำเร็จในการผลักดันนักศึกษาให้ส่งผลงานเข้าประกวดจนประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ตามหากหลักสูตรจะรายงานแนวทางที่พัฒนานักศึกษาที่มีผลการเรียนอ่อน ให้ขึ้นมาเข้มแข็ง ก็จะทำให้เห็นภาพการพัฒนานักศึกษาทั้งกระบวนการครบถ้วน

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
          - ไม่พบการรายงานผลการประเมินระบบอาจารย์ที่ปรึกษา และผลการประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นรายบุคคล และไม่พบรายการเอกสารหลักฐานการประเมินดังกล่าวในระบบ DBS มีเพียงการรายงานหัวข้อส่วนใหญ่ที่นักศึกษาเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาเอาไว้ในหน้าที่ 60 - 61
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
          - หลักสูตรมีการระบุกิจกรรมพัฒนานักศึกษาของปีการศึกษา 2565 ไว้ในหน้าที่ 63 แต่หลักสูตรไม่ได้ Mapping กิจกรรมดังกล่าวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้านต่างๆ 
          - หลักสูตรไม่ได้รายงานผลการประเมินร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 ตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมต่างๆ เพื่อนำผลประเมินฯ ไปใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมต่อไป
          - ยังไม่เห็นแนวปฎิบัติ KM ที่เป็นลายลักษณ์อักษร

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - หลักสูตรมีการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการส่งเสริมการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมรวมทั้งการบริการวิศวกรรมชีวการแพทย์ (BIS) ที่ช่วยให้นักศึกษาได้มีโอกาสในการฝึกปฏิบัติเสริมสร้างประสบการณ์สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างชัดเจน
          - หลักสูตรมีการกำหนดหัวข้อโครงงานให้กับนักศึกษาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม 20 ปี (2560 - 2579) เอาไว้อย่างชัดเจน รวม 14 เรื่อง

          - นักศึกษาได้รับรางวัลผลงานนวัตกรรมระดับปริญญาตรี ทั้งระดับดี ระดับดีเด่น และรางวัลเหรียญต่างๆ หลายโครงการ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
          - ยังไม่เห็นแนวปฎิบัติ KM ที่เป็นลายลักษณ์อักษร
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2545 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2548)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
           - หน้า 79 ตารางผลที่เกิดกับนักศึกษา ในส่วนของอัตราการคงอยู่ให้ใส่ข้อมูลให้ครบถ้วน
 
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 89.50
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 92.90
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 90.60
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.81
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.81
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.83
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - หลักสูตรมีการดำเนินการด้านการพัฒนานักศึกษาหลากหลายกิจกรรม จึงควรแสดงผลสรุปการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในแต่ละกิจกรรมตามประเด็นต่างๆ ทั้ง 4 ด้าน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          - หลักสูตรมีระบบและกลไกในการดำเนินการบริหารและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณสมบัติทั้งในด้านคุณวุฒิและตำแหน่งวิชาการอย่างต่อเนื่อง มีผลการดำเนินการจากการส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ด้านการทำวิจัยสร้างผลงานนวัตกรรมต่างๆ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ได้รับรางวัลและอนุสิทธิบัตรจำนวนมาก รวมทั้งมีความโดดเด่นในการบริหารจัดการสู่องค์กรอัจฉริยะที่ได้รับรางวัลแนวปฏิบัติที่ดี
          - มีระบบการพัฒนาอาจารย์ และ มีผลลัพธ์เป็นรูปธรรม
          - ไม่พบการรายงานชื่อแนวปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จสอดคล้องกับตัวบ่งชี้ 4.1 รวมทั้งไม่ได้ระบุการถ่ายทอด KM ดังกล่าวทาง Link URL ใด ในหน้าที่ 106

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ โดยการกำหนดให้มีแผนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรที่เป็นแผน 5 ปี ที่ชัดเจน

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
          - หลักสูตรมีการรายงานการประเมินการบริหารและพัฒนาอาจารย์ตามแผนยุทธศาสตร์ ด้วย KR 1.4.2 KR 1.4.4 และ KR 1.1.5 ในหน้าที่ 106 หลักสูตรควรรายงานผลการดำเนินงานที่เป็นทั้งเชิงผลลัพธ์ และรายละเอียดการดำเนินงาน เพื่อจะได้นำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการหรือทำการจัดการความรู้ให้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีต่อไป
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 2
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 6 2 0 3
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 6.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 136.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - มีผลงานวิชาการโดดเด่น
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
         1. หลักสูตรมีอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบคงที่ 100% และมีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรแนวโน้มดีอย่างต่อเนื่อง  มีการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์โดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ชัดเจน
         2. หลักสูตรสามารถเข้าถึงคุณภาพระดับ 5 ในตัวบ่งชี้เชิงผลลัพธ์ได้ ถ้าหลักสูตรได้เลือกสถาบันคู่เทียบ (ฺBenchmarking) เพืื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์การดำเนินงานว่ามีความเป็น Best Practice

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

32
8
25.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          - แผนการเรียนการสอนแบบ Module ปรับปรุงใหม่เริ่มใช้กับนักศึกษาปีการศึกษา 2565
          - มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - ควรรายงานถึงการปรับปรุงสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ 
 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
         - หลักสูตรมีการปรับปรุงรายวิชาและกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยปรับปรุงสาระวิชาแบบ Module และ Active learning ที่เริ่มใช้ในปี 2565 ที่เน้นผลลัพธ์ในการเรียนรู้ ซึ่งควรแสดงผลการประเมินเทียบกับรายวิชาในหลักสูตรก่อนการปรับปรุง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - ค่าร้อยละ จำนวนวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันฯ คือ 25.00 (เพื่อใช้ส่งรายงานผลดำเนินงานของหลักสูตรตาม Key Result ที่ KR 1.2.1 มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การสอนมุ่งสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง ควรพิจารณาการดำเนินงานปรับปรุงให้เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ปีการศึกษา 2565 ที่ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมดในปีการศึกษา)
 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน (Learner person, Innovative Co-creator และ Active citizen) ควรมีการเทียบเคียงกับรายวิชาในหลักสูตรที่จะตอบสนองการเรียนรู้ดังกล่าว 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
         - หลักสูตรมีการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง มีผลการประเมินคุณภาพการสอนที่สูงขึ้นถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดี แต่ควรเพิ่มเติมการเชื่อมโยงกับรายวิชาในหลักสูตรให้เห็นชัดเจนมากขึ้น

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - หลักสูตรควรรายงานการกำหนดอาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชาที่มีความเหมาะสมตามคุณวุฒิ ประสบการณ์สอน ความเชี่ยวชาญ ผลงานวิจัย ผลงานตีพิมพ์ ผลงานบริการวิชาการ และอื่นๆ
         - ควรระบุผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2565 ให้ชัดเจน รวมถึงการปรับปรุงแก้ไขจากปีการศึกษา 2564 

 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - ยังไม่เห็นผลการปรับปรุงเป็นรูปธรรมชัดเจนในปีการศึกษา 2565
 
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - หลักสูตรมีการดำเนินโครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โครงการบริการวิชาการ และโครงการสร้างความเป็นเลิศด้านการวิจัยและนวัตกรรม แต่มิได้แสดงให้เห็นว่าการเชื่อมโยงกับการเรียนการสอนของรายวิชาในหลักสูตร  ซึ่งใน PDCA ของแต่ละโครงการควรระบุให้เห็นผลการดำเนินงานที่เชื่อมโยงกับรายวิชาที่สอน
         - ควรระบุผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2565 ให้ชัดเจน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
         - พบการรายงานผล ตลอดจนพบรายการเอกสารหลักฐานในระบบ DBS ของรายงานการทวนสอบสัมฤทธิผลการเรียนรู้ 
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
         - มีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - ควรมีการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ที่เชื่อมโยงกับรายวิชาต่างๆ
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         1. เพิ่มความชัดเจนของรายงานการประชุมคณะกรรมการกำกับมาตรฐานฯเกี่ยวกับการพิจารณาข้อสอบ การปรับปรุงข้อสอบ
         2. ควรมีรายงานทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เช่น การสอบ Exit exam และการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยนักศึกษาประเมินตนเอง

 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - ควรรายงานผลให้ชัดเจน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
         - ควรเพิ่มเติมรายการเอกสารอ้างอิงรายการหลักฐาน เป็น มคอ.7 
 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
         - หลักสูตรมีระบบและกลไก มีการนำผลประเมินฯ มาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องและข้อเสนอแนะจากนักศึกษามาปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้โดยครบถ้วน และได้รับการประเมินความพึงพอใจจากนักศึกษาในระดับดีมาก
         - หลักสูตรได้จัดหาสิ่งสนับสนุการเรียนรู้ของนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง 

         - หลักสูตรควรดำเนินการจัดการความรู้ถึงแนวปฎิบัติในการพัฒนาหรือปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ตอบความต้องการของอาจารย์และนักศึกษาที่นำไปสู่ PLO เพื่อโอกาสในการเข้าสู่ความเป็นแนวปฏิบัติที่ดี และโอกาสในการได้รับการปรับคะแนนคุณภาพในอนาคต ไปที่ระดับ 5
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
         - มีระบบและกลไกการดำเนินที่ชัดเจน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
         - ควรรายงานผลการดำเนินงานในปี 2565 ให้ชัดเจน
 
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
         - มีการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ทำให้อาจารย์มีคุณวุฒิและผลงานวิชาการเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง สมควรที่จะนำแนวปฏิบัตินี้ถ่ายทอดผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต
  2. หลักสูตรมีระบบกลไกในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา มีผลการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีผลลัพธ์ที่ดีเกินค่าเป้าหมาย จนถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดี สมควรที่จะนำแนวปฏิบัตินี้ถ่ายทอดผ่านการจัดการความรู้ (KM) ในระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต
  3. หลักสูตรมีระบบกลไกในการพัฒนาและปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามความต้องการของอาจารย์และนักศึกษา มีห้องปฏิบัติการณ์ที่ทันสมัย จนเป็นห้องปฏิบัติการณ์ที่มีหน่วยงานภายนอกมาขอเยี่ยมชม หลักสูตรควรจัดการความรู้ถึงแนวปฏิบัติที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการบริหารสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ตอบความต้องการของอาจารย์และนักศึกษาตลอดจนตอบการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรมีการออกแบบสาระรายวิชาที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและสถานประกอบการ ซึ่งควรเพิ่มเติมการเชื่อมโยงรายวิชาและกระบวนการจัดการเรียนการสอนกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอมมาตรฐานคุณวุฒิ 3 ด้านให้ชัดเจนมากขึ้น
  2. หลักสูตรควรรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้ระดับรายวิชาและรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิตามมาตราฐานการจัดการเรียนรู้ (ตามแบบฟอร์มของสมว.) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาว่าดีขึ้นอย่างไร ต้องนำผลประเมินฯ ไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิการเรียนรู้ต่อไปอย่างไร

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.83
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.22

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.92 4.92 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.33 - - 4.33 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 4.00 4.25 4.92 4.22 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก