รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ [ว.นานาชาติจีน]

วันที่ประเมิน: 11 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
** ขออนุญาตใส่ comment Improvement Plan **
ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินฯ ปีการศึกษา 2565 
ไม่ตรงกับ IP ใน link https://qa.rsu.ac.th/ip/curriculum/12/IP/y/2022/report
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
ป.โท 3 ป.เอก 2
  • Mr.Luo Fudong มีผลงาน april 2019 จำนวน 2 เรื่อง และ 2021 1 เรื่อง ถ้านับตามปีการศึกษาจะเหลือผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี 1 เรื่อง
  • Mr.Wang Fengkun มีผลงาน april 2019 จำนวน 2 เรื่อง และ 2021 1 เรื่อง ถ้านับตามปีการศึกษาจะเหลือผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี 1 เรื่อง
  • Ms.Jiang Haiyue มีผลงาน april 2019 จำนวน 1 เรื่อง ถ้านับตามปีการศึกษาจะเหลือผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี 4 เรื่อง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ประจำหลักสูตรเป็นชุดเดียวกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผู้สอน = อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
มีอาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์พิเศษ 4 ท่าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เปิดปี 2550
ปรับปรุง 2555/2560/2565
ครบ 2569

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 59 4.82
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 25
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.82
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวเลขในตารางจาก
https://qa.rsu.ac.th/dbs/files/curriculum/2023/12/15693_202406191014421.pdf
บางส่วนไม่ตรง

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 59 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 45
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 32
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 8
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 5
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เงินเดือนบัณฑิตจบใหม่เฉลี่ย 30650 บาท
ได้งานก่อนหรือทันทีหลังเรียนจบ 55%
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตารางที่ 1 ในรายการหลักฐาน แสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 59 คน ขอความกรุณาตรวจสอบให้สอดคล้องกับที่รายงาน
 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.91 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการรับและเตรียมความพร้อมนักศึกษา 4.78
1. จำนวนรับสมัครนักศึกษาใหม่ในแต่ละปี ตั้งแต่ปี 2564 จำนวน 77 คน ปีการศึกษา 2565 จำนวน 77 คน และปีการศึกษา 2566 จำนวน 77 คน เห็นได้ชัดว่ายอดนักศึกษามีความคงที่มาตลอดและเกินกว่ายอดเป้าหมายที่ตั้งไว้ใน มคอ. 
2. มีการตรวจสอบระบบและกลไกที่ดำเนินการซึ่งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยจากการสัมภาษณ์เบื้องต้นจะตั้งคำถามเพื่อสำรวจไหวพริบ สภาพจิตใจ ความพร้อมในการเข้าเรียนและการใช้ชีวิตในประเทศไทยซึ่งมีปัจจัยด้านการข้ามวัฒนธรรม(Cross-Cultural)หรือการตื่นตระหนกทางวัฒนธรรม (Culture Shock) เพื่อเป็นการคัดกรองเบื้องต้นที่จะป้องกันการตกออกของนักศึกษาในอนาคต 
3. หลักสูตรจะดำเนินการจัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ เพื่อจัดกิจกรรมสัมพันธ์เช่นเดิม เพื่อให้นักศึกษาทราบข้อมูลเบื้องต้นต่างๆเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาและใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยอย่างมีความสุข 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
  • ตรวจสอบประเด็นจำนวนนักศึกษาในหน้า 33 เนื่องจากมีจำนวนเพิ่มขึ้นในปีการศึกษาถัดไป หลังรับเข้า หรือจะรับ นศ เทียบโอน อาจจะต้องมีการรายงานหรือ remark ไว้ เพื่อให้เข้าใจได้อย่างถูกต้อง
  • มีจำนวนนักศึกษาเกินกว่าเป้าหมายทุกปี  

(เอกสารหน้า 36)
- จำนวนรับสมัครนักศึกษาใหม่ในแต่ละปี ตั้งแต่ปี 2564 จำนวน 77 คน ปีการศึกษา 2565 จำนวน 77 คน และปีการศึกษา 2566 จำนวน 77 คน เห็นได้ชัดว่ายอดนักศึกษามีความคงที่มาตลอดและเกินกว่ายอดเป้าหมายที่ตั้งไว้ใน มคอ. 
- มีการตรวจสอบระบบและกลไกที่ดำเนินการซึ่งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยจากการสัมภาษณ์เบื้องต้นจะตั้งคำถามเพื่อสำรวจไหวพริบ สภาพจิตใจ ความพร้อมในการเข้าเรียนและการใช้ชีวิตในประเทศไทยซึ่งมีปัจจัยด้านการข้ามวัฒนธรรม(Cross-Cultural)หรือการตื่นตระหนกทางวัฒนธรรม (Culture Shock) เพื่อเป็นการคัดกรองเบื้องต้นที่จะป้องกันการตกออกของนักศึกษาในอนาคต 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
  • มีการเตรียมความพร้อมด้านภาษาจีนแก่นักศึกษาชาวไทยที่เข้ามาศึกษา และเตรียมความพร้อมด้านภาษาไทยให้แก่นักศึกษาจีน
  • มีการเตรียมความพร้อมด้วยการปฐมนิเทศ ซึ่งรวมถึงการใช้ชีวิตในประเทศไทย วัฒนธรรม และวิถีชีวิต แก่นักศึกษาชาวจีน นอกจากการจัดการเรียนการสอน

ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการรับและเตรียมความพร้อมนักศึกษา 4.78
จะดำเนินการจัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ เพื่อจัดกิจกรรมสัมพันธ์เช่นเดิม เพื่อให้นักศึกษาทราบข้อมูลเบื้องต้นต่างๆเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาและใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยอย่างมีความสุข 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีผลงานวิจัยผ่านรายวิชา Business Project (ICM424)  จำนวน 1 เรื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2550 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2553)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 82.43
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 81.11
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 75.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 17.57
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 50.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 15.49
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อัตราการสำเร็จการศึกษาต่ำ ควรพิจารณาหาแนวทางในการช่วยนักศึกษาในการปรับตัวทั้งในชีวิตประจำวันและการศึกษา ผ่านโครงการต่างๆ เช่น พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน เป็นต้น
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.57
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.18
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.27
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ประเด็นที่ 4 "ด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ" มีระดับความพึงพอใจของนักศึกษาค่อนข้างต่ำ  ซึ่งอาจเนื่องจากนักศึกษาไม่เข้าใจถึงประเด็นที่สอบถามหรือไม่ หลักสูตรอาจต้องให้ความรู้แก่นักศึกษาในประเด็นที่จะสอบถาม ก่อนการสอบถามความพึงพอใจ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1. บธบ.3.3.02 รายชื่อนักศึกษาแต่ละชั้นปี  -> ต้องเปิดใน intranet
2. การอธิบายการรายงานผล "การคงอยู่" และ "การสำเร็จการศึกษา" ไม่ควรอธิบายค่าในปีการศึกษา 2561-2563 
3. ปรับผลการประเมินตนเอง ให้เป็น "3.00 คะแนน"
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ปรับตัวเลขในตาราง 4.2.1 เป็น เทียบคะแนนเต็ม "5.00" (ไม่ใช่ 10.00)
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรส่งเสริมและผลักดันให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสุตร เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.00 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
  • ไม่มีผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
  • ควรส่งเสริมและผลักดันให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีผลงานทางวิชาการ
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 1.67 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการคงอยู่ในอัตราที่สูง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.56
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 3.79
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.92
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

72
6
8.33
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการเชิญสถานประกอบการ ผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายย ให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
- ปีการศึกษา 2566 มีการเชิญสถานประกอบการ ผู้เชี่ยวชาญมาบรรยาย เล่าประสบการณ์ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากผู้มีประสบการณ์จริง และเผชิญหน้า พร้อมกับวิธีการรับมือกับสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นหน้างาน
- มีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น เช่น จัดกิจกรรมร่วมกับวิทยาลัยแพทย์แผนตะวัน ออก (แพทย์แผนจีน) และมีการเชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการ มาบรรยายเล่าประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ขอให้ประเมินผลจากกิจกรรมที่หลักสูตรได้สรา้งการมีส่วนร่วมจากสถานประกอบการ ว่าภายหลังจากดำเนินงานตามกระบวนการดังกล่าวเกิดผลอย่างไรบ้าง
- การรายงานผลการดำเนินงาน อาจปรับรายงานเฉพาะในปีใกล้เคียงกับปีที่รายงาน (ปีที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับปีที่รายงาน ฯลฯ)
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- รายวิชาที่ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือ รายวิชา ICM424/ICF424 (Business Project)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ติดตามความเปลี่ยนแปลงสถานการณ์โลก มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างอาจารย์ในสาขาวิชาเดียวกัน อีกทั้งยังถ่ายทอดกรณีศึกษาให้นักศึกษาวิเคราะห์ ประมวลผล และประเมินแนวโน้มในสภาวการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่เพื่อทำไปปรับใช้ได้จริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เอกสารหน้า 63-72 นับได้ 68 วิชา
ไม่เปิด 4 วิชา
รหัส ICB101  ชื่อวิชา FINANCIAL ACCOUNTING            
รหัส ICC115  ชื่อวิชา ADVANCED CHINESE LISTENING AND SPEAKING  
รหัส ICC116  ชื่อวิชาCHINESE READING AND WRITING        
รหัส ICB209  ชื่อวิชา COMPUTER APPLICATION IN BUSINESS    
คุณภาพของการสอน มี 56 วิชา -> คะแนนเฉลี่ย 4.79   

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- รายวิชา Business Project (ICM424) เป็นรายวิชาให้นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายทำการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสาขาวิชาบริหารธุรกิจตามระเบียบวิธีวิจัยและนำความรู้ที่เรียนมาบูรณาการเพื่อให้ได้ข้อมูลนำเสนอต่อกรรมการทั้งในแบบรูปเล่มและนำเสนอปากเปล่า
- ส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติในปีการศึกษา 2566 จำนวน 1 ผลงาน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-มีการทวนสอบ 20 รายวิชา คิดเป็น 32%
หน้า 63-72 นับได้ 68 วิชา
ไม่เปิด 4 วิชา
รหัส ICB101  ชื่อวิชา FINANCIAL ACCOUNTING            
รหัส ICC115  ชื่อวิชา ADVANCED CHINESE LISTENING AND SPEAKING  
รหัส ICC116  ชื่อวิชาCHINESE READING AND WRITING        
รหัส ICB209  ชื่อวิชา COMPUTER APPLICATION IN BUSINESS    
คุณภาพของการสอน 
มี 56 วิชา -> คะแนนเฉลี่ย 4.79   
เอกสารหน้า 109
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้มีการทวนสอบจำนวน  20 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 32 ของรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2566
แสดงว่าเปิด 66 วิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานการประชุมควรครอบคลุมเกี่ยวกับการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หน้า 63-72 นับได้ 68 วิชา
ไม่เปิด 4 วิชา
รหัส ICB101  ชื่อวิชา FINANCIAL ACCOUNTING            
รหัส ICC115  ชื่อวิชา ADVANCED CHINESE LISTENING AND SPEAKING  
รหัส ICC116  ชื่อวิชาCHINESE READING AND WRITING        
รหัส ICB209  ชื่อวิชา COMPUTER APPLICATION IN BUSINESS    
คุณภาพของการสอน 
มี 56 วิชา -> คะแนนเฉลี่ย 4.79   
เอกสารหน้า 109
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้มีการทวนสอบจำนวน  20 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 32 ของรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2566
แสดงว่าเปิด 66 วิชา
เอกสารหน้า 111 ในตาราง ข้อ 3
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (นานาชาติ-จีน) มีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4) โดย upload ข้อมูลดังกล่าวก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาทุกรายวิชา ทั้งหมด 69 รายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แนบรายการจาก สมว จะช่วยให้ชัดเจนมากขึ้น
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หน้า 63-72 นับได้ 68 วิชา
ไม่เปิด 4 วิชา
รหัส ICB101  ชื่อวิชา FINANCIAL ACCOUNTING            
รหัส ICC115  ชื่อวิชา ADVANCED CHINESE LISTENING AND SPEAKING  
รหัส ICC116  ชื่อวิชาCHINESE READING AND WRITING        
รหัส ICB209  ชื่อวิชา COMPUTER APPLICATION IN BUSINESS    
คุณภาพของการสอน 
มี 56 วิชา -> คะแนนเฉลี่ย 4.79   
เอกสารหน้า 109
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้มีการทวนสอบจำนวน  20 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 32 ของรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2566
แสดงว่าเปิด 66 วิชา
เอกสารหน้า 111 ในตาราง ข้อ 3
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (นานาชาติ-จีน) มีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4) โดย upload ข้อมูลดังกล่าวก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาทุกรายวิชา ทั้งหมด 69 รายวิชา
เอกสารหน้า 111 ในตาราง ข้อ 4
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (นานาชาติ-จีน) มีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4) โดย upload ข้อมูลดังกล่าวก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาทุกรายวิชา ทั้งหมด 69 รายวิชา -> ต้องแก้เป็น มคอ.5 และ มคอ.6
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แนบรายการหลักฐานจาก สมว จะช่วยให้ชัดเจนมากขึ้น
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
20 รายวิชาจาก 69 รายวิชา คิดเป็น 32%
หน้า 63-72 นับได้ 68 วิชา
ไม่เปิด 4 วิชา
รหัส ICB101  ชื่อวิชา FINANCIAL ACCOUNTING            
รหัส ICC115  ชื่อวิชา ADVANCED CHINESE LISTENING AND SPEAKING  
รหัส ICC116  ชื่อวิชาCHINESE READING AND WRITING        
รหัส ICB209  ชื่อวิชา COMPUTER APPLICATION IN BUSINESS    
คุณภาพของการสอน 
มี 56 วิชา -> คะแนนเฉลี่ย 4.79   
เอกสารหน้า 109
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้มีการทวนสอบจำนวน  20 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 32 ของรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2566
แสดงว่าเปิด 66 วิชา
เอกสารหน้า 111 ในตาราง ข้อ 3
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (นานาชาติ-จีน) มีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4) โดย upload ข้อมูลดังกล่าวก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาทุกรายวิชา ทั้งหมด 69 รายวิชา
เอกสารหน้า 111 ในตาราง ข้อ 4
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (นานาชาติ-จีน) มีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4) โดย upload ข้อมูลดังกล่าวก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาทุกรายวิชา ทั้งหมด 69 รายวิชา -> ต้องแก้เป็น มคอ.5 และ มคอ.6
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แนบรายการจาก improvement plan
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
บุคลากร 6 คน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานควรระบุว่าเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือบุคลากร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร โดยมีระดับความพึงพอใจอยู่ที่  4.66 หมายถึง นักศึกษามีความพึงพอใจต่อคุณภาพหลักสูตรมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ค่าเฉลี่ยความพึงใจอยู่ที่ระดับ 4.82 (ข้อ 2.1 )หมายถึง พึงพอใจมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
คำอธิบายไม่สอดคล้องกับเกณฑ์
เนื่องจากในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีรายวิชาศึกษาทั่วไป 1 รายวิชา คือ IRS111 ธรรมาธิปไตย ที่เป็นวิชาปฏิบัติและวิชาต้องการให้นักศึกษาได้ทำงานเป็นกลุ่มและมีกิจกรรมร่วมกัน -> ต้องปรับใหม่ เนื่องจากหัวข้อ คือ ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่พบรายการหลักฐาน

ในระบบ dbs ไม่มีเอกสาร
บธบ.5.4.13 รายงานผลการดำเนินการหลักสูตรปีการศึกษา 2566
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- เฉลี่ยอยู่ที่ 4.83 จากคะแนนเต็ม 5.0
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แนบรายการหลักฐานที่ระบุคะแนนรวมด้วย

ผลการประเมินเรียนการสอนออนไลน์ -> ต้องเข้าไปใน ev.rsu.ac.th
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.10 (เฉพาะของนักศึกษา)จากคะแนนเต็ม 5 หมายถึง มีความพึงพอใจดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อธิบายระบบ/กลไก การดำเนินงานของคณะ/สถาบันว่าให้อาจารย์ผุ้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมอย่างไรในการจัดให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล และขอให้มีการประเมินระบบ/กลไก การดำเนินงาน ว่า ดีหรือไม่ดี อย่างไร มีส่วนใดที่ต้องได้รับการปรับปรุงใหเดีขึ้น และจะปรับปรุงอย่างไร
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในปีการศึกษา 2566 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.10 (เฉพาะของนักศึกษา)จากคะแนนเต็ม 5 หมายถึง มีความพึงพอใจดี
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. มีระบบและกลไกการรับนักศึกษา ตลอดจนการเตรียมความพร้อมที่ดี สามารถพัฒนาทักษะทางด้านภาษาทั้งของผู้เรียนชาวไทย และผู้เรียนชาวต่างชาติ มีการคัดกรองเบื้องต้น มีการสัมภาษณ์ความพร้อมในการเข้าเรียนและการใช้ชีวิตในประเทศไทยซึ่งมีปัจจัยด้านการข้ามวัฒนธรรม (Cross-Cultural) หรือการตื่นตระหนกทางวัฒนธรรม (Culture Shock) ที่จะป้องกันการตกออกของนักศึกษาในอนาคต ส่งผลให้จำนวนนักศึกษาใหม่ ตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมาเกินกว่ายอดเป้าหมายที่ตั้งไว้ใน มคอ.
  2. มีการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ เพื่อให้นักศึกษาได้รับประโยชน์ในการศึกษา การใช้ชีวิต การปรับตัวให้เข้ากับบริบททางสังคมไทย และใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยอย่างมีความสุข แก่ผู้เรียนชาวจีน
  3. อัตราการมีงานทำสูง และบัณฑิตมีรายได้หลังสำเร็จการศึกษาในระดับที่สูง สะท้อนคุณภาพและความสามารถในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร
  4. มีผู้เรียนให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก เกินกว่าเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้เรียนที่เป็นชาวไทยและชาวต่างชาติ
  5. มีการออกแบบหลักสูตรที่คำนึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน มีการสรา้งการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการจัดการเรียนการสอน
  6. เป็นหลักสูตรที่มีความร่วมมือในการพัฒนานักศึกษากับหน่วยงานภายนอก ทั้งใน มหาวิทยาลัยรังสิต (เช่น การจัดกิจกรรมร่วมกับหลักสูตรแพทย์แผนจีน) และสถานประกอบการภายนอก ในการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรุ้และประสบการณ์แก่นักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. คุณวุฒิ ผลงานทางวิชาการ ตลอดจนตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ยังอยู่ในระดับที่น่าเป็นกังวล หลักสูตรต้องมีแนวทางการดำเนินงานอย่างเร่งด่วน
  2. ควรมุ่งพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการกับการวิจัย การบริการทางวิชาการ ตลอดจนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน เช่น การส่งเสริมให้นักศึกษาได้เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ในเวทีการประชุมวิชาการต่าง ๆ
  3. พิจารณาเรื่องการวางระบบผู้สอน เนื่องจากมีผู้สอน (อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ฺประจำ/อาจารย์ผู้สอน) เป้นจำนวนน้อย อาจจะส่งผลต่อภาระงาน และการทำภารกิจอื่นๆ (การวิจัย การบริการวิชาการ)
  4. อัตราการสำเร็จการศึกษาต่ำ ควรพิจารณาหาแนวทางในการช่วยนักศึกษาในการปรับตัวทั้งในชีวิตประจำวันและการศึกษา ผ่านโครงการต่างๆ เช่น พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน เป็นต้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.82
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 1.67
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.35

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.91 4.91 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 2.56 - - 2.56 ระดับคุณภาพปานกลาง
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 2.81 3.50 4.91 3.35 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก