วันที่ประเมิน: 17 กรกฏาคม 2566, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- ดร.มนภร ผลงานจะหมดอายุในปีการศึกษา 2566 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 10 | 4.36 |
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด | 5 | |
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | 4.36 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติครอบคลุมผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน มีความโดดเด่นทางด้านคุณธรรม จริยธรรม มีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความรับผิดชอบระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 10 | 5.00 |
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ | 9 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] | 5 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ | 2 | |
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร | 0 | |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา | 0 | |
ร้อยละที่ได้ | 100.00 | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีโครงการและกิจกรรม ที่ช่วยพัฒนศักยภาพของนักศึกษาและทำให้นักศึกษาได้ทำงานร่วมกัน1. ใน Open House 2022 Future Design by Triple E : Triple E for Life 2. บูรณาการเรียนการสอนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม กับการศึกษาดูงานการปฏิบัติงานจริงของกรมชลประทานในโครงการระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ การศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลน ที่ป้อมพระจุลและป้อมผีเสื้อสมุทร 3. โครงการส่งเสริมฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในโรงรียนเขตจังหวัดปทุมธานี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การรับนักศึกษาควรมีระบบ กลไก แสดงขั้นตอนการรับนักศึกษา เกณฑ์ คุณสมบัติของนักเรียนที่จะเข้าเรียน2. มีการปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาโดยการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเพิ่มขึ้นผ่านการจัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรมวิศวกรรมพลังงานเพื่ออนาคต ทำให้สามารถรับนักศึกษาใหม่ได้มากขึ้นเป็น 15 คน (ปีการศึกษา 2564 มีนักศึกษาใหม่ 6 คน) อย่างไรก็ตามเป้าหมายการรับนักศึกษาใหม่ ตามมคอ.2 ของปีการศึกษา 2565 จะอยู่ที่ 30 คน |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การเตรียมความพร้อม ในส่วนที่เกี่ยวกับวิขาการ ควรมีการทำ Pretest กับ Post test เพื่อติดตามผลการประเมิน ว่าดีขึ้นหรือไม่ อย่างไร ในส่วนของการเตรียมความพร้อมเพื่อการเข้าศึกษาหรือการใช้ชีวิต ควรมีการแนะนำอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้นักศึกษาเข้าพบอาจารย์ได้ตามตารางเวลา รวมถึงการติดต่อผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อความสะดวก2. มีการเตรียมความพร้อมผ่านการกิจกรรมปรับความรู้พื้นฐานของวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดงานปฐมนิเทศน์ EEE 65 อย่างไรก็ตามอัตราคงอยู่ของนักศึกษาใหม่ ยังต่ำกว่าเป้าหมายร้อยละ 90 (จำนวนนักศึกษารหัส 65 ปัจจุบันเหลืออยู่ที่ 13 คน จาก 15 คน คิดเป็นอัตราการคงอยู่ร้อยละ 86.7) ดังนั้นจึงควรมีกระบวนการดูแลนักศึกษาเพิ่มเติมในการรักษาอัตราการคงอยู่ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรมีระบบ กลไก การควบคุมและการให้คำปรึกษา เช่น ตารางเข้าพบอาจารย์ การปลดล็อคลงทะเบียน การลงบันทึกในสมุดประจำตัวนักศึกษา2. ไม่พบการรายงานการประเมินระบบอาจารย์ที่ปรึกษา และการประเมินอาจารย์ที่ปรึกษารายบุคคล เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงผลการดำเนินงาน แสดงผลของการให้คำปรึกษา มีอะไรบ้าง |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรแสดงและให้รายละเอียด เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผ่านโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ โดยมีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม2. การทำกิจกรรมต่าง ๆ ควรมีการประเมิน ผลดำเนินงาน เพื่อนำมาใช้ปรับปรุงกระบวนการ 3. ไม่พบการรายงานการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แต่ไปพบการรายงานกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ 2 โครงการในประเด็นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ หลักสูตรควรวิเคราะห์ว่าโครงการดังกล่าวมีส่วนในการพัฒนานักศึกษาในส่วนของการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยหรือไม่ 4. ควรเชื่อมโยงกิจกรรมและแบบประเมินกิจกรรมให้เข้ากับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านที่เกี่ยวข้อง เช่น Collaboration Skill หรือ Communication Skill เป็นต้น |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การดำเนินการควรจัดทำผ่านโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ โดยมีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ2. การปรับปรุงกระบวนการโดยให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการศึกษางานวิศวกรรมแบบบูรณาการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม และโครงการส่งเสริมฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในพื้นที่โรงเรียน เขตจังหวัดปทุมธานี 3. หลักสูตรควรกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพฯ เช่น ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้ในการสร้างผลงานวิจัย และจำนวนผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่นักศึกษามีส่วนร่วมต่อปีการศึกษา |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 75.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
การสำเร็จการศึกษา |
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 50.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 60.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา |
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.22
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.63
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.53
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรแสดงระบบ กลไก ในการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร2. ในการกำกับติดตามคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ควรมีการตรวจสอบผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปี โดยสม่ำเสมอ |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ระบบการบริหารอาจารย์ ควรมีรายงานของการกำหนดภาระงานสอน หลักการแบ่งภาระงาน2. ควรมีการกำกับติดตามให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปรับปรุงการดำเนินงานจากการติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี เช่น การพัฒนาผลงานวิชาการตามเป้าหมาย (อาจมีการต้้งเป้าหมายให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรผลิตผลงานวิชาการ 0.4 ต่อคน ต่อปี เป็นต้น) |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรมีการประเมินการดำเนินการ ผลประเมินการดำเนินการและมีการปรับปรุงระบบ2. ในแผนพัฒนา 5 ปี เน้นการพัฒนาเฉพาะด้านวิจัย และตำแหน่งทางวิชาการ แต่ในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพนั้นครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ ตลอดจนมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาที่รับผิดชอบ ดังนั้น จึงควรกำหนดเป้าหมายการพัฒนาอาจารย์ให้ครอบคลุมทุกด้าน ดังกล่าว |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 4 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 80.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 3.33 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 3 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 2 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 0 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 2 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 40.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 3.33 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น ตามที่ระบุไว้ในแผนพัฒนา หน้า 29 |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 0.00 | 0.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 0.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 0.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยเพื่อเขียนบทความวิชาการ- ควรมีการติดตามการดำเนินการตามแผนพัฒนาบุคลากรในการผลิตผลงานวิชาการตามแผนที่ได้วางไว้ของผู้รับผิดชอบหลักสูตรในภาควิชา |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- 100%, 60%, 100% |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- 4.38, 4.38, 4.41ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ผลการประเมิน ในรายงานมีครบทุกเรื่อง ดีขึ้นในบางเรื่อง2. เหตุผลในการประเมินความพึงพอใจ ไม่สอดคล้องกับเรื่องที่ดำเนินการ เนื่องจากการประเมินเกี่ยวข้องกับการบริหารหลักสูตร |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การออกแบบ และสาระรายวิชาในหลักสูตร เป็นการผลตบัณฑิตให้สามารถทำงานด้านการออกแบบ วางแผน จัดการสิ่งแวดล้อม ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีความใฝ่รู้ มีจริยธรรม คุณธรรมระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การสำรวจ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร 16 คน ควรจะดำเนินการ เมื่อนักศึกษาเรียนปีสุดท้าย ไม่ควรทำตั้งแต่นักศึกษาเริ่มเข้าเรียน เพราะนักศึกษาไม่สามารถเห็นภาพรวมของหลักสูตร (หน้า 45) |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอน แต่ควรเพิ่มการนำผลประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิด้านต่างๆ มาเชื่อมโยงกับการปรับปรุงหลักสูตร หรือ เนื้อหารายวิชา |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรไม่ได้แสดงการเชื่อมโยงระหว่งผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน และผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน กับเนื้อหารายวิชาที่เปิดสอน |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การกำหนดผู้สอนควรเป็นไปตาม ความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์2. หลักสูตรไม่ได้แสดงรายละเอียดการกำหนดผู้สอนตามความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์สอน ประสบการณ์บริการวิชาการ ประสบการณ์งานวิจัย ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย เป็นต้น |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรระบุการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ ว่าใช้กับนักศึกษารหัสอะไร เนื่องจากทางหลักสูตรชี้แจงว่า นักศึกษาเข้าปี 2564 ซึ่งนักศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 2 ดูหน้า 502. การมีผู้เชี่ยวชาญภายนอกมหาวิทยาลัย มาเป็นที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ มีกระบวนการอย่างไร ผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างไรมีการประสานงานระยะเวลาการให้คำปรึกษากับนักศึกษาอย่างไร หรือเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 3. หลักสูตรมีการปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานทั้ง online และ onsite และมีการจัดประชุมในสาขา เพื่อแก้ไขปัญหานักศึกษาที่มีผลการเรียนอ่อน อย่างไรก็ตามหลักสูตรควรแสดงรายละเอียดโดยสรุปจากการนำผลการประเมินการจัดการเรียนการสอน (มคอ.5) ของปีการศึกษาที่ผ่านมา มาใช้ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนการสอนของปีการศึกษาปัจจุบัน (มคอ.3) เพื่อการปรับปรุงสัมฤทธิผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ดีขึ้น |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ไม่มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย แต่บูรณาการกับงานบริการวิชาการ และศิลปวัฒนธรรม แต่ควรทำผ่านโครงการและมีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา2. หลักสูตรไม่ได้แสดงรายละเอียดรายวิชาที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 3. ส่วนการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา ปริญญานิพนธ์ ไม่ได้รายงานผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2565 |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การประเมินผู้เรียน การจัดการเรียนการสอน ใช้ มคอ.5, 6 การประเมินหลักสูตรใช้ มคอ.7 ทำอย่างไร เขียนรวมให้เห็นภาพ ระบุในหน้า 50-522. การตรวจสอบผลการเรียนรู้มีการดำเนินการผ่านกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ และควรพิจารณาผลจากการทวนสอบประกอบด้วย เพื่อให้ได้ผลตรงตามมาตรฐานและวัตถุประสงค์หลักสูตร มีวิธีการวัดผลที่เหมาะสม นอกจากการวัดผลที่เป็นการสอบกลางภาค และปลายภาค 3. การทวนสอบรายวิชา รายผลและปัญหาที่พบโดยภาพรวม 4. ปีการศึกษา 2565 มีการปรับปรุงกระบวนการให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละวิชาเข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการประจำหลักสูตร ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ 7 วิชาจาก 10 วิชา คิดเป็นร้อยละ 70 แต่ไม่พบหลักฐานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ควรรายงานผลการทวนสอบฯ ในเชิงเปรียบเทียบว่ามีสัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ของปีการศึกษา 2565 ว่าดีขึ้นกว่าปีการศึกษา 2564 อย่างไรหรือไม่ |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ไม่พบเอกสารหลักฐานบนระบบ DBS ที่แสดงว่าอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ของอาจารย์ 3 ท่าน คือ ดร.มนภร อ สถาพร และ อ สมพงษ์ |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 14 | 4.5 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 13 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 92.86 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีเครื่องมือในห้องปฏิบัติการปริมาณมากและเพียงพอ สามารถให้บริการกับหน่วยงานอื่นๆได้2. หลักสูตรมีแนวโน้มผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ที่ดี กล่าวคือได้คะแนนประเมินเฉลี่ยจากปีการศึกษา 2563, 2564 และ 2565 เป็น 4.42, 4.83 และ 4.87 ตามลำดับ 3. หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการจากผลการประเมินฯ โดยได้จัดให้มีจำนวนเครื่องมือห้องปฏิบัติการณ์อย่างเพียงพอ มีการเอาใจใส่ให้คำปรึกษาด้านการปฏิบัติการณ์ให้แก่นักศึกษา โดยทั้งอาจารย์และเจ้าหน้าที่ภาควิชา 4. หลักสูตรมีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ E-book ต่างๆ แต่ควรแสดงรายชื่อสื่อดังกล่าว รวมทั้งการนำไปใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนว่าเป็นวิชาใด รวมทั้งแสดงเป็นรายการเอกสารหลักฐาน ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรมีการรายงานสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อื่นๆนอกจากห้องปฏิบัติการ ได้แก่ สื่อเล็กทรอนิกส์ ห้องเรียน สิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย เอกสารหลักฐานห้องสมุด สิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล2. หลักสูตรมีการแสดงตารางการใช้อุปกรณ์ในรายวิชาปฏิบัติการณ์ แต่ไม่ได้แสดงถึงจำนวนของอุปกรณ์ และความพอเพียงเมื่อเทียบกับจำนวนนักศึกษา |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | 4.36 |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | 5.00 |
3.1 การรับนักศึกษา | 3.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 2.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 2.00 |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 3.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 2.78 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | 3.00 |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 3.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 3.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 3.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 4.50 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 3.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 3.20 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | 2 | - | - | 4.68 | 4.68 | ระดับคุณภาพดีมาก |
3 | 3 | 2.33 | - | - | 2.33 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
4 | 3 | 2.93 | - | - | 2.93 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
5 | 4 | 3.00 | 3.50 | - | 3.38 | ระดับคุณภาพดี |
6 | 1 | - | 3.00 | - | 3.00 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
ผลการประเมิน | 2.68 | 3.38 | 4.68 | 3.20 | ระดับคุณภาพดี | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพปานกลาง | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดีมาก |