รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

วันที่ประเมิน: 19 กรกฏาคม 2566, 13:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- จำนวนผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คน และรับผิดชอบหลักสูตรเดียว
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ทุกท่านมีคุณวุฒิปริญญาโทขึ้นไปในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และมีผลงานวิชาการอย่างน้อย 1 ชิ้น ในรอบ 5 ปี 

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน

 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
- มีผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 2 คน มีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการทางวิชาชีพ 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ทุกท่านมีคุณวุฒิปริญญาโทขึ้นไปในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และมีผลงานวิชาการอย่างน้อย 1 ชิ้น ในรอบ 5 ปี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ทุกท่านมีคุณวุฒิปริญญาโทขึ้นไปในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน
- มีอาจารย์มณฑา 1 ท่าน คุณวุฒิระดับปริญญาตรีเป็นอาจารย์ผู้สอนก่อนเกณฑ์ปัจจุบันนี้ประกาศใช้

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ปรับปรุงหลักสูตรภายในกรอบระยะเวลา 5 ปี 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 46 4.76
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 19
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.76
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- บัณฑิตจบการศึกษาน้อย หลักสูตรควรรวบรวมปัญหาที่แท้จริงเพื่อนำเข้าที่ประชุม  ระดมความคิด  ปรึกษาหารือ  แก้ไขอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้นักศึกษาสามารถจบตามกำหนดระยะเวลาของหลักสูตร
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 46 3.25
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 40
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 24
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 0
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 2
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 14
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 65.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 3.25
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.01 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการปรับกระบวนการการรับนักศึกษา โดยเน้นทั้งการประชาสัมพันธ์ การเข้าหากลุ่มเป้าหมาย เปิดกลุ่มเป้าหมายใหม่ รวมทั้งส่งเสริมการดูแลนักศึกษาปัจจุบันในหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้น ช่วยนักศึกษาและผู้ปกครองแก้ไขปัญหา ส่งเสริมการส่งผลงานเข้าประกวด ซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารภาพลักษณ์ที่ดีของหลักสูตรเสริมกับการทำตลาดภายนอก ทำให้ได้มาซึ่งจำนวนนักศึกษาใหม่แรกเข้าเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 59% ซึ่งเกินเป้าปี 2565 ที่ตั้งไว้ 

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการปรับกระบวนการการรับนักศึกษา โดยเน้นทั้งการประชาสัมพันธ์ การเข้าหากลุ่มเป้าหมาย เปิดกลุ่มเป้าหมายใหม่ รวมทั้งส่งเสริมการดูแลนักศึกษาปัจจุบันในหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้น ช่วยนักศึกษาและผู้ปกครองแก้ไขปัญหา ส่งเสริมการส่งผลงานเข้าประกวด ซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารภาพลักษณ์ที่ดีของหลักสูตรเสริมกับการทำตลาดภายนอก ทำให้ได้มาซึ่งจำนวนนักศึกษาใหม่แรกเข้าเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 59% ซึ่งเกินเป้าปี 2565 ที่ตั้งไว้ 
- ทำได้ดี มีระบบ กลไก การดำเนินการ มีการประเมิน ปรับปรุงแก้ไข กระบวนการ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการตรวจร่างกาย ไหว้ครู มีการให้ข้อมูลการปฐมนิเทศ การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย ทำได้ดี ครบถ้วน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การเตรียมความพร้อม แก้ไขข้อมูลเป็นของปี 2565 
 - การเตรียมความพร้อมทางวิชาการ ทำผ่านวิทยาลัยฯ ควรมีผลการประเมินแต่ละหัวข้อประเมินการทำ
Pretest และ Post test และควรมีการเตรียมความพร้อมของภาควิชาฯ เองด้วย

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การดูแลให้คำปรึกษา มีระบบ กลไก สามารดำเนินการ ปรับปรุงกระบวนการ แต่ไม่ชัดเจนและไม่มีการรายงาน ว่าให้ผลดีขึ้นในด้านใดบ้าง และดีขึ้นอย่างไร 

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในทศวรรษที่ 21 การดำเนินการควรทำผ่านโครงการต่างๆ มีการจัดสรรงบประมาณ โดยสามารถนำผลการดำเนินการมาประเมินในรูปแบบ PDCA
- กิจกรรมต่างๆ ที่ทำทุกกิจกรรม ใส่รายละเอียดชื่อกิจกรรม พัฒนาทักษะด้านใด พบว่ามีการทำกิจกรรมจำนวนมาก ใส่การดำเนินการ ผลที่ได้รับ ผลการประเมินเพื่อปรับปรุง  เช่น ความร่วมมือทางวิชาการกับ AIT ให้ระบุวิธีการดำเนินการ เพราะน่าจะเป็นจุดเด่นของหลักสูตร

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
 - โครงการต่างๆ ที่เขียนไว้ในรายงาน ควรใส่ชื่อ รายละเอียดการดำเนินงาน เนื่องจากไม่พบเอกสารหลักฐานที่อ้างอิงไว้ในระบบ DBS   ควรระบุว่าพัฒนาศักยภาพด้านใด (ดูรายงานหน้า 47)

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการสร้างผลงานนวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์หลายผลงาน โดยได้รับรางวัล ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย และระดับชาติ (ดูหน้า 51)
- ผลงานที่โดดเด่น คือ ปั๊มชักแรงเสียดทานต่ำที่ได้ทูลเกล้าพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพฯ รับรางวัลในงานวันนักประดิษฐ์ จัดโดยสำนักงานวิจัยแห่งชาติ 6 ก.พ. 2566


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน

 

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2531 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2534)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 75.40
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 70.80
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 66.70
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี

 
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 1.80
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 4.20
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 12.80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี



 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การสำเร็จการศึกษา  ดีขึ้น  แต่มีอัตราการสำเร็จการศึกษาที่ต่ำมาก มีผลกระทบจากการรายงานของหลักสูตร (ตามหน้า 55) หลักสูตรจะแก้ปัญหาอย่างไร

 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.46
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.30
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.62
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ไม่ดี
- การจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา ไม่มีข้อร้องเรียน แต่อยากให้ติววิชาภาษาอังกฤษ กลศาสตร์ ดูงานนอกสถานที่ บันทึกการสอนใน Google Meet เพื่อทบทวน




 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ควรใส่การดำเนินการ การได้มาซึ่งการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพิ่มการประเมิน (พัฒนา และปรับปรุง)

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกในการบริหารภาระงานและพันธกิจของอาจารย์ ประเมินและปรับปรุงให้เหมาะสมในทุกปี
- การบริหารอาจารย์ มีการดำเนินการเพื่อการพัฒนาอาจารย์ในประเด็นต่างๆ เช่น ภาระงาน อัตรากำลัง การบริหารหลักสูตร การติดตามผลการดำเนินงานของอาจารย์ ฯลฯ ที่เป็นข้อดี มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์และปรับปรุง โดยควรใส่รายละเอียดเพิ่มเติมว่าการปรับปรุงได้ทำอย่างไร ผลที่เกิดกับอาจารย์เป็นอย่างไร  (หน้า 60) (มีพัฒนาและปรับปรุง)


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีแผนพัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ มีการประเมิน ปรับการพัฒนาอาจารย์ให้มีความก้าวหน้าทันวิทยาการสมัยใหม่ในสาขาที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ระบบส่งเสริม พัฒนาอาจารย์ ส่งเสริมการทำผลงานวิจัย เป็นหลักควรมีการส่งเสริมในด้านอื่นๆ เช่นการพัฒนาองค์ความรู้ตามศาสตร์ให้ก้าวทันวิทยการสมัยใหม่ การจัดการเรียนรู้ เป็นต้น
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี

​​​​​​​
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 4 0 1
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 68.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี


 
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มที่ดีทุกด้าน ทั้งความพึงพอใจ และอัตราคงอยู่ของอาจารย์
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีอัตราคงอยู่ของอาจารย์คิดเป็น 100% 3 ปี เป็นแนวโน้มที่ดี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีผลประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ดังนี้
2563 ค่าเฉลี่ย 4.91
2564 คำเฉลี่ย 4.41
2565 คำเฉลี่ย 4.79
แม้อยู่ในเกณฑ์ระดับพอใจมากทั้ง 3 ปี แต่ค่าเฉลี่ยไม่สูงขึ้นตามลำดับ ประเมินตามการเกณฑ์ประเมิน แนวโน้มไม่ดีขึ้น

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

42
42
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน และปรับสาระรายวิชา 42 วิชา คิดเป็นร้อยละ 100 เพื่อให้มีเนื้อหาทันสมัย
- หลักสูตรได้ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยทุกรายวิชา ทำให้บัณฑิตมีความสามารถในการวิจัย พัฒนาอย่างเป็นระบบ พัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ วิศวกรมีความใฝ่รู้ ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนำมาประยุกต์ 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีรายวิชา MEN499 Selected topic in เพื่อสามารถกำหนดหัวข้อพิเศษ ที่ทันยุคสมัย ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ โดยนักศึกษาได้ใช้ประโยชน์จริงในการฝึกงาน และทำงานวิชาชีพระหว่างเรียน 
- มีการปรับรายวิชาเพื่อขึ้นตอนปรับหลักสูตร 2564-2568 ในรายวิชา Energy Management in Factory,  Smart Farm,  Biomechanical Engineering เป็นต้น


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนรู้ 3 ด้านการเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษาเพื่อใช้ในการออกแบบ/ปรับหลักสูตร
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการกำหนดอาจารย์ผู้สอน ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ประจำและอาจารย์พิเศษ ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในวงการวิชาชีพ ซึ่งปรับเปลี่ยนตามรายวิชาที่เปิดสอน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การกำกับ ติดตามและตรวจสอบ การจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และมคอ.4) หลักสูตรควรมีการรายงาน การกำกับติดตาม และสรุปการจัดแผนการเรียนรู้ในราวิชาทฤษฎี   วิชาปฏิบัติการ  วิชาปริญญานิพนธ์ และมีการนำผลการประเมิน ใน มคอ.5 ของปีทีผ่านมามาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน คือ มคอ.3 ของปีการศึกษาปัจจุบัน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามวัตถุประสงค์ของรายวิชาและหลักสูตร
 
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการจัดการเรียนการสอนเพื่อบูรณาการกับการวิจัย สร้างนวัตกรรมที่ชัดเจน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน

 

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกล และการประเมิน กระบวนการประเมินผู้เรียนโดยกรรมการบริหารหลักสูตรและกรรมการกำกับมาตรฐาน และป้อนกลับคำแนะนำไปยังอาจารย์ผู้สอน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การประเมินผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนรายวิชา โดยใช้ มคอ.5, 6 การประเมินหลักสูตรใช้ มคอ.7 มีการรายงาน แต่ขอให้มีการนำการทวนสอบผลสัมฤทธิ์มาใช้ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินการร่วมด้วย โดยวิเคราะห์ตามวัตถุ ประสงค์ของแต่ละรายวิชา รวมถึงผลการพัฒนานักศึกษาในด้านต่างๆ
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ย 4.27

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ย  4.76  

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ต่อผู้สอนมีค่าเฉลี่ย   4.39  

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีต่อทรัพยากร สนับสนุนการเรียนการสอนเฉลี่ย  4.35  


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการประเมินความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และจัดซื้อจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้นักศึกษาตามความจำเป็นและในกรอบประมาณที่ได้รับจัดสรร
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบกระบวนการกำกับติดตามการซ่อมบำรุงรักษาและความเพียงพอการใช้งานอุปกรณ์และเครื่องมือในห้อง ปฏิบัติการเพื่อรองรับวิชาปฏิบัติการ  วิชาปริญญานิพนธ์
 
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการจัดหาอุปกรณ์ sensor และเครื่องมือวัด รวมทั้ง software เพื่อสนับสนุนการเรียน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปี 2565  พบว่า  นักศึกษามีความพึงพอใจเพิ่มขึ้น ได้ให้คะแนนความพึงพอใจด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีค่าเท่ากับ 4.35 ซึ่งดีกว่าปีก่อนหน้า
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ครบถ้วน
 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานวิชาการเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง
  2. หลักสูตรได้มีการประชาสัมพันธ์ และดูแลให้คำปรึกษานักศึกษาปัจจุบันอย่างใกล้ชิด และสื่อสารภาพลักษณ์นี้ออกไปสู่กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเพิ่มกลุ่มเป้าหมายรับนักศึกษาเสาร์-อาทิตย์เพิ่มเติม ทำให้ปี 2565 มียอดนักศึกษาเกินเป้าที่ตั้งไว้
  3. หลักสูตรมีการดูแลนักศึกษาอย่างใกล้ชิด มีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ซึ่งน่าจะส่งผลให้นักศึกษาสามารถใช้ชีวิตได้ดีและเป็นผลดีต่อการเรียนของนักศึกษาตลอดระยะเวลาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยรังสิต เช่น การแนะแนวให้คำปรึกษา การเทียบโอน การเรียนนอกเวลา การสร้างผลงานวิจัย เป็นต้น
  4. มีผลงานวิจัยของนักศึกษาในภาควิชาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติอย่างสม่ำเสมอ
  5. เป็นหลักสูตรวิศวกรรมหลัก จึงเป็นที่ต้องการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรพิจารณาปรับเพิ่มรายวิชาในหลักสูตรให้หลากหลาย เน้นการประยุกต์ใช้ตามเทคโนโลยีที่ทันสมัย
  2. แม้ว่าอัตราสำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์จะมีแนวโน้มดีขึ้น หลักสูตรควรพัฒนาระบบการดูแลให้คำปรึกษานักศึกษาให้ใกล้ชิดมากขึ้นเป็นรายบุคคล และผลักดันนักศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้นักศึกษาสามารถจบการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
  3. ควรมีโครงการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาใหม่สำหรับภาควิชาโดยตรง

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.76
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 3.25
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.54

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.01 4.01 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.43 3.50 4.01 3.54 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก