รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานักบินพาณิชย์

วันที่ประเมิน: 17 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หากหลักสูตรใช้อาจารย์ประจำหลักสูตร ชุดเดียวกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร สามารถนำข้อมูลจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมาเติมที่ช่องผลการดำเนินงานพร้อมทั้งใช้หลักฐานเดียวกันได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 21 4.84
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 16
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.84
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาได้รับการยอมรับในคุณภาพจากผู้ใช้บัณฑิตฯ โดยมีคะแนนอยู่ในระดับสูงมากทุกด้าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 21 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 19
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 4
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 12
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ตรวจสอบในหัวข้อผลการดำเนินงาน จำนวนบัณฑิตที่ประกอบอาชีพอิสระ กับ จำนวนข้อมูลในตารางอีกครั้ง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ข้อสังเกต
ในเอกสารหลักฐาน นบบ.2.2.02 มีจำนวนบัณฑิตที่ทำธุรกิจส่วนตัว 12 คน (ตัวเลขไม่ตรงกับตารางหน้า 21) และเอกสารหลักฐานน่าจะนำเสนอจำนวนบัณฑิตที่สอบแบบสอบให้สอดคล้องกับการเขียนรายงานผล
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.92 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อ.นิศากร สิ่งที่น่าจะเป็นจุดเด่นของหลักสูตร
หลักสูตรมีขั้นตอนในการรับนักศึกษาหลายขั้นตอน ทั้งการสัมภาษณ์ , การประเมินคุณภาพเบื้องต้น (ความสูง น้ำหนัก สายตา) , ทักษะทางภาษา รวมทั้งความพร้อมในการสนับสนุนจากครอบครัว ซึ่งเป็นสิ่งที่ช่วยสนับสนุนการเป็นนักบินพาณิชย์ที่ตรงตามเกณฑ์มาตรฐานในอนาคตของนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.เฉลิมพร จำนวนรับที่ได้รับจริง ( 12 คน) กับ จำนวนที่วางแผนใน มคอ. 2 (50 คน) มีความแตกต่างกันมาก และจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง ควรวิเคราะห์และวางแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ผศ.กนกพร ไม่พบการประเมินกระบวนการรับนักศึกษา แต่มีการแก้ปัญาในกรณีที่สอบไม่ผ่าน เช่น ภาษาอังกฤษ ให้วิทยากรมาสอน

 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.เฉลิมพร จำนวนนักศึกษาที่หายใน (ดังตาราง หน้า 24) พบว่า จำนวนนักศึกษาคงอยู่ต้นปี กับ ปลายปี มีจำนวนลดลงอย่างมาก  โดยเฉพาะในปี 2564 ที่นักศึกษาหายไปเป็นจำนวนมาก (รับเข้า 13 ปีที่ 2 เหลือ 2 คน)  ซึ่งหากพิจารณาย้อนหลังไป พบว่ามีการลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจสะท้อนถึงการเตรียมความพร้อม เพื่อลดจำนวนตกออก และ รักษาอัตราคงอยู่  จึงควรร่วมกันวิเคราะห์เพื่อหากลยุทธ์ปรับเพิ่มเติมให้นักศึกษาคงอยู่ในแต่ละชั้นปีมีแนวโน้มสูงขึ้นต่อไป
- ไม่พบการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานในเล่มไม่มีในระบบ และบางหลักฐานชื่อไม่ตรงกัน
 

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.เฉลิมพร ตรวจสอบการรายงานผลในย่อหน้าแรก (หน้า 32) รายงานข้อมูลปี 2562 (หน้า 37 ) ยังไม่สอดคล้องกัน กับหน้า 24

อ.นิศากร เนื่องจากนักศึกษาของหลักสูตรมีทั้งเรียนที่มหาวิทยาลัย และเรียนที่สถาบันการบินทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นการจัดการดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาของทางหลักสูตรจึงมีรูปแบบพิเศษที่แตกต่างจากหลักสูตรอื่นๆ หากเพิ่มเติมผลการประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาตามรูปแบบที่ทางหลักสูตรได้ดำเนินการ จะได้ทราบถึงความพึงพอใจและอาจได้รับข้อเสนอแนะที่นำมาปรับเรื่องการดูแลนักศึกษาให้ดียิ่งๆขึ้นได้

อ.กนกพร ไม่พบการให้คำปรึกษาที่เกี่ยวกับวิชาการ 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อ.นิศากร ข้อสังเกต
หลักสูตรมีแนวทางในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาที่เอื้อต่อการเป็นนักบินในอนาคตได้เป็นอย่างดี ทั้งการฝึกฝนร่างกาย, การพัฒนาทักษะทางภาษา, การฝึกกับเครื่องบินจำลอง เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อ.นิศากร หลักสูตรอาจมีการประเมินก่อนก่อนพัฒนาศักยภาพศึกษา มีการวางเป้าหมายที่นักศึกษาจะได้จากการพัฒนาและเปรียบเทียบผลที่ได้รับ เช่น 
การฝึกฝนร่างกาย อาจมีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง คำนวณเป็นค่า BMI, อัตราการเต้นของหัวใจ (ค่าวัดที่จำเป็นต่อการเป็นนักบิน) และมีเป้าหมายของ BMI เมื่อนักศึกษาได้รับการฝึก และประเมินอีกครั้งหลังฝึก ว่ามีร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านเป้าหมายเท่าใด 

- ไม่พบกิจกรรมหรือโครงการที่เป็นของหลักสูตร ในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในทศวรรษที่ 21 เข้าใจว่าน่าจะเป็นหลักสูตรที่ต้องการบัณฑิตที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงมากกว่าการไปพัฒนานักศึกษาในรายวิชา RSU 111 ซึ่งเป็นรายวิชาในหมวด Gen. Ed.
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.เฉลิมพร  ควรนำเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา (อาจตรวจสอบกับแนวทางการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/การเตรียมความพร้อมของนักศึกษา) อาจเพิ่มเติมประเด็นการส่งเสริมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ตอบยุทธศาสตร์ชาติได้

- ไม่พบการประเมินกระบวนการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เอกสารหลักฐานบนระบบยังไม่ครบ

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2552)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 47.50
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 21.90
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 30.80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ตรวจสอบปี 2563 ให้สอดคล้องกับตารางหน้า 24 
- แนวโน้มอัตราการคงอยู่ไม่ดี หลักสูตรควรเร่งวิเคราะห์เพื่อหากลยุทธ์การบริหารจัดการให้เป็นไปตาม มคอ. ที่กำหนดไว้
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 30.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 16.40
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 28.20
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เร่งหากลยุทธ์ กระตุ้นจูงใจให้ นศ.ได้เรียนให้สำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.72
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.75
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.70
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- แนวโน้มความพึงพอใจ ปี 65 ลดลงจากปี 64
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เอกสารหลักฐานบนระบบยังไม่ครบ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกต
เนื่องจากมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่านใหม่ในปี 2565 น่าจะมีการกล่าวถึงการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในส่วนนี้


มีกระบวนการรับและแต่งตั้ง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์  ตามวุฒิการศึกษา วุฒิทางการบิน ปฏิบัติหน้าที่ตามภาระงานที่สถาบันการบินกำหนดไว้ ตามรายงานของปี 2564 ไม่มีรายงานปี 2565 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบการประเมินกระบวนการ
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ระบบส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ไม่พบรายละเอียดของการดำเนินการในปี 2565 ซึ่งในรายงานจะมีเฉพาะของปี 2564 และไม่มีแผนการพัฒนาอาจารย์ที่เป็นรูปธรรม การดำเนินการและผลการดำเนินงาน โดยเฉพาะการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 2
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 3
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 60.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีศาสตราจารย์จำนวนมาก ซึ่งควรใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 2 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 1.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 32.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรวางแผนการสร้างผลงานวิชาการให้กระจายไปยังผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่าน
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อัตราการคงอยู่ดี และความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอยู่ในระดับดีมากต่อเนื่องกัน 3 ปี
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ข้อสังเกต
มีการเปลี่ยนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 1 ท่านหากอาจารย์ท่านดังกล่าวมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน จะได้นับว่า อัตราการคงอยู่ยัง 100% เหมือนเดิม

แก้ไขอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใน หน้า 56 ให้ถูกต้อง 2564 (ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐาน 2558) เท่ากับ 100%  2565  เท่ากับ 80% และข้อมูลตารางในหน้า 57 ที่ขัดแย้งกัน ผลการดำเนินการ รายงานครบ แต่ดีขึ้นในบางเรื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่มีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน หรือไม่???
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

36
2
5.56
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อ.นิศากร
จุดเด่น

เป็นหลักสูตรที่มีการออกแบบหลักสูตรการเรียนแบบ 2+2 ซึ่งเป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างแท้จริง ซึ่งบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษานอกจากจะได้รับปริญญาตรีแล้วยังมีประกาศนียบัตรนักบินตามมาตรฐานสากล, การรับรองของแพทย์เวชศาสตร์การบิน ระดับ 1 และประกาศนียบัตรภาษาอังกฤษ สำหรับนักบินพานิชย์ ระดับ 4 ขึ้นไป ซึ่งพร้อมสำหรับการประกอบอาชีพนักบินพานิช
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.เฉลิมพร ตรวจสอบการรายงานข้อมูลในหน้า 72 หัวข้อประสิทธิผลของกลยุทธ์การสอน ข้อมูลเป็นการดำเนินงานปรับปรุงหลักสูตร ใช้ในปี 2564???
ผศ.กนกพร  สาระรายวิชาในหลักสูตร มีการดำเนินการแต่ไม่มีการประเมินกระบวนการ  ควรอธิบายให้เข้าใจถึงการได้มาซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร เช่น ศิษย์เก่า  ผู้ใช้บัณฑิต  ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการหรืออื่นๆ


- ไม่พบการประเมินกระบวนการ
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.เฉลิมพร ตรวจสอบจำนวนรายวิชาที่เปิดสอนให้ตรง สอดคล้องกันทั้งเล่ม

ผศ.กนกพร การปรับหลักสูตรให้ก้าวหน้าตามศาสตร์สาขาโดยการใส่รายวิชา CPD 120, 151,  161, 200,  222 และ 240 ขอให้อธิบายถึงเหตุผลหรือการมีความเชื่อมโยงให้เกิดความก้าวหน้าอย่างไร

 - ไม่พบการประเมินกระบวนการ
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบการประเมินกระบวนการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ข้อสังเกต
- จำนวนรายวิชาที่หลักสูตรเปิดสอนข้อมูลในหน้า 70 กับหน้า 73 ไม่ตรงกัน
- ในหน้า 73 จำนวนรายวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอน หากมี 2 รายวิชา จะทำให้ไม่ผ่านตามเป้าหมายของ KR1.2.1 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกต
หลักสูตรมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ 2+2 หากมีรายละเอียดของการจัดผู้สอน เช่น รายวิชาใดที่จัดสอนโดยอาจารย์ประจำหลักสูตร และกลุุ่มรายวิชาใดที่จัดสอนโดยสถาบันการบิน พร้อมผลประเมินการสอน จะช่วยให้เห็นถึงจุดเน้นของหลักสูตรที่มีความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกอย่างแท้จริง

- ไม่พบการประเมินกระบวนการ
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มีรายงานการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ และการจัดการเรียนการ ในรายวิชาเกี่ยวกับการบินของนักศึกษาชั้นปี่ที่ 3 และ 4

- ไม่พบการประเมินกระบวนการ
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในส่วนของงานวิจัย ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทีได้กล่าวถึงการทำเครื่องร่อนนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรและในรายงานที่กล่าวถึงหัวข้องานวิจัย ปัจจัยที่ส่งผลต่ออาการไม่พึงขณะทำการบินฯ ได้มีการนำข้อมูลหรือผลของการวิจัยเพื่อมาใช้ในรายวิชาที่กล่าวถึง คือ CPV 161 เครื่องฝึกบินจำลอง รึไม่ อย่างไร

- ไม่พบการประเมินกระบวนการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การประเมินผู้เรียน เพื่อตอบสนองการจัดการเรียนการสอน โดยมีผลการเรียนรู้ตาม TQF ทั้ง 5 ด้าน รวมกับทักษะเพิ่มเติมอีก 1 ด้าน คือทักษะพิสัยในการบังคับเครื่องบิน
รายวิชาในหลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนตามแผนใน มคอ.3 และการติดตามโดย มคอ. 5  ส่วนในรายวิชาที่เป็นการฝึกบินเป็นไปตามเงื่อนไขของโรงเรียนการบินซึ่งจะมีมาตรฐานในการเรียน การฝึกบินเป็นไปตามมาตรฐานสากลการบินตามหลักสูตรนักบินส่วนบุคคล  หลักสูตรนักบินพาณิชย์โดยบินกับเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกต
หลักสูตรมีการทวนสอบด้วยการทดสอบแบบ Oral Test จำนวน 10 รายวิชา ซึ่งหากมีข้อสรุปจากการทวนสอบจะทำให้การรายงานส่วนนี้สมบูรณ์มากขึ้น (เช่น นักศึกษาที่ตอบได้สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชามากกว่า 60% ขึ้นไป)
- จำนวนรายวิชาที่เปิดสอนจะมีผลต่อร้อยละของจำนวนรายวิชาที่ทางหลักสูตรต้องทำการทวนสอบ (ในรายงานมีการระบุรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 57 รายวิชา กับ 36 รายวิชา)
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีการประชุมค่อนข้างน้อย
- ระบุข้อมูลช่อง ผ่าน  ไม่ผ่าน เพิ่มเติม
- ระบุข้อมูลผลการดำเนินงานให้ครบทุกข้อ และ ให้สอดคล้องกับดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในรายงานการประชุมหลักสูตร ควรใส่รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม ตำแหน่ง และ รายชื่อผู้ลาประชุม ก่อนระเบียบวาระการประชุม
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- รายงานข้อมูลผลการดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน และรายงานให้ครบทุกข้อ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกต
หลักสูตรไม่ได้ใส่ผลการดำเนินการ ขอให้เขียนผลการดำเนินการด้วย โดยอ้างอิงข้อความจากซ้ายตาราง (ตัวบ่งชี้ดัชนี) และเพิ่มเติมจำนวนวิชาทั้งหมดที่ได้ดำเนินการทำมคอ.3 รวมทั้งเอกสารหลักฐานคือ มคอ.3

รายงานข้อมูลผลการดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน และรายงานให้ครบทุกข้อ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ใช้มคอ.3
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกต
การจัดทำมคอ.5 ถูกกำหนดโดยสำนักงานมาตรฐานวิชาการที่ทุกรายวิชาที่เปิดสอนต้องดำเนินการจัดทำและส่งให้ครบ ดังนั้นหลักสูตรได้ดำเนินในส่วนนี้อย่างแน่นอน ขอให้เขียนผลการดำเนินการในส่วนนี้ให้ครบถ้วน

รายงานข้อมูลผลการดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน และรายงานให้ครบทุกข้อ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ตรวจสอบจำนวนรายวิชาที่เปิดสอนให้สอดคล้องในข้อมูลส่วนอื่นๆ 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตรวจสอบการรายงานผลอีกครั้ง ว่ามีการรับอาจารย์ใหม่ และมีการปฐมนิเทศหรือไม่???

ข้อสังเกต
ข้อนี้ไม่น่าจะ N/A ทางหลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ 1 ท่านคือ พล.อ.ท.ดร.ชนนนาถ เทพลิบ 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานการปฐมนิเทศอาจารย์ประจำหลักสูตรท่านใหม่ อาจเป็นรายงานการประชุมที่แสดงถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หน้า 72-73 มีข้อมูลการเข้ารับการอบรมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่ครบ 5 ท่าน (มีของท่านอาจารย์ พล.อ.ท.ดร.ศุภกฤต กับ พล.อ.ท.ดร.ชนนนาถ)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่พบเอกสาร ผลการประเมินความพีงพอใจของบัณฑิตปีสุดท้ายต่อหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ข้อมูลจากหน้า 18 ผลประเมินความพึงพอใจจากผู้ใช้บัณฑิตได้ 4.84
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เพิ่มเติมหลักฐาน อาจใช้เป็นรายงานการประชุม
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ยัง link เอกสารไม่ถูกต้อง ที่ใส่บนระบบเป็นผลประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตร ไม่ใช่ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 15 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 15
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.เฉลิมพร ตรวจสอบการรายงานผลข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
ผศ.นิศากร หากรายงานเพิ่มเติมผลจากความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุน โดยมีข้อคำถามที่ครอบคลุมทั้งส่วนที่คณะจัดหา เช่น เครื่องจำลองการบิน , ห้อง study room ผลประเมินส่วนรวมเช่น ระบบอินเทอเนต , ห้องสมุด เป็นต้นและผลจากการใช้ platfrom ต่างๆ
ผศ.กนกพร มีรายงานผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมิน  ปี 2565 มีรายงานข้อมูล อื่นๆ เช่น การจัดหา Flight Simulator ส่วนปี 2550, 2556, 2557, 2558, 2559, 2560, 2561 ได้รายงานเกี่ยวกับโครงการจัดหาเครื่องบิน จัดหาวิทยุสื่อสาร จัดหาเครื่องฝึกบินจำลอง แต่ไม่มีผลการดำเนินการต่อมามีการรายงานโดยเน้นสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ คือ Flight Simulator การจัดหาทรัพยากรในห้องสมุด ได้แก่ หนังสือ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล ฯลฯ และการจัดหา เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2556 – 2561 มีครบ 9 เครื่อง แต่ไม่มีรายงานผลการดำเนินการจัดหา ในส่วนอื่น ได้แก่ เครื่องบินเล็ก วิทยุสื่อสาร ไม่ทราบว่ามีเพียงพอ หรือพร้อมใช้งานหรือไม่ อย่างไร รองรับรายวิชาต่างๆ ที่เป็นวิชาปฏิบัติการอย่างไร มีแผนการจัดหา แผนการซ่อมแซมอย่างไร 
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มีการรายงาน และตรวจสอบการรายงานผลข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในปี 2565 และตรวจสอบการรายงานผลข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิทางวิชาการในระดับสูง ทั้งตำแหน่งทางวิชาการระดับ ศาสตรจารย์ร้อยละ 60 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และมีอาจารย์ที่มี่คุณวุฒิระดับปริญญาเอกร้อยล 40 ซึ่งกว่าเกณฑ์มาตรฐานเช่นกัน
  2. หลักสูตรนักบินพานิชย์เป็นหลักสูตรที่มีความโดดเด่น ทั้งในรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนที่มีผู้มีประสบการณ์ตรงมาร่วมจัดการเรียนการสอน และการเลือกเรียนกับสถาบันฝึกบินได้หลากหลายทั้งในและต่างประเทศ
  3. นักบินพานิชย์ที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรของสถาบันการบิน มีความพร้อมในการปฏิบัติงานจริง เนื่องจากมีทั้งประสบการณ์บิน และมีประกาศนียบัตรรับรองทั้งด้านสุขภาพและทักษะทางภาษา
  4. จุดเด่นของหลักสูตร : หลังสถานการณ์โควิด 19 บรรเทาลง ทำให้การท่องเที่ยวและการเดินทางกลับสู่สภาวะปกติ อุตสาหกรรมการบินจึงมีแนวโน้มที่ดีเพราะทำให้นักบินและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีโอกาสในการประกอบอาชีพได้มากขึ้น

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. สถานการณ์โรคระบาดน่าจะใกล้จุดอิ่มตัว และหลักสูตรคาดว่าธุรกิจการบินจะกลับมาได้ในปี 2567 ดังนั้นทางหลักสูตรควรวางแนวทางการประชาสัมพันธ์ /การให้ข้อมูลเพื่อจูงใจให้ผู้ที่สนใจและมีความพร้อมเลือกที่จะเรียนในหลักสูตรนักบินพาณิชย์ สถาบันการบิน
  2. จุดที่ควรพัฒนา : เพิ่มสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการหรือเครื่องมือแล็ปให้มากขึ้น
  3. หลักสูตรต้องวิเคราะห์ SWOT พร้อมกำหนดกลยุทธ์ในการรับนักศึกษา + รักษาอัตราคงอยู่นักศึกษา + ลดอัตราการตกออก + เพิ่มอัตราการสำเร็จการศึกษาตามรอบระยะเวลา อย่างเร่งด่วน
  4. หลักสูตรฯ ควรกระตุ้น จูงใจ ส่งเสริม พัฒนา ให้ นักศึกษาได้สร้างสรรค์ผลงาน หรือ ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายที่ได้ลงนามข้อตกลงร่วมกันให้เพิ่มมากขึ้น เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาและอื่นๆ มากขึ้น
  5. ตรวจสอบการเตรียมความพร้อมและการวางแผน เพื่อจัดหาทรัพยากรสิ่งสนับสนุนให้กับนักศึกษา ตรวจสอบการรายงานผลข้อมูลข้อ 6.1 ให้เป็นปัจจุบัน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.84
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 2.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 2.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.45

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.92 4.92 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
5 4 2.00 3.33 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.14 3.25 4.92 3.45 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก