วันที่ประเมิน: 17 กรกฏาคม 2566, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิต, อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้ง 5 คน มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ตามรายชื่อดังนี้ 1.รศ.ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ คุณวุฒิปริญญาเอก ตำแหน่งวิชาการ รศ ผลงานวิชาการ 2 ชิ้น 2565 2.ผศ.ดร.มานวิภา อินทรทัต คุณวุฒิปริญญาเอก ตำแหน่งวิชาการ ผศ ผลงานวิชาการ 2 ชิ้น 2565 3.ผศ.ผการัตน์ จำปาน้อย คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ ผศ ผลงานวิชาการ 3 ชิ้น 2023 4.อ.อรอนงค์ นิธิภาคย์ คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อ ผลงานวิชาการ 2 ชิ้น 2565 5.ดร.ศรัณย์ คำจินดา คุณวุฒิปริญญาเอก ตำแหน่งวิชาการ อ ผลงานวิชาการ 5 ชิ้น 2023 หลักสูตร 2563 ปรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 15 มีนาคม 2566 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้ง 5 คน มีคุณสมบัติและผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิต 1.รศ.ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ คุณวุฒิปริญญาเอก ตำแหน่งวิชาการ รศ ผลงานวิชาการ 2 ชิ้น 2565 2.ผศ.ดร.มานวิภา อินทรทัต คุณวุฒิปริญญาเอก ตำแหน่งวิชาการ ผศ ผลงานวิชาการ 2 ชิ้น 2565 3.ผศ.ผการัตน์ จำปาน้อย คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ ผศ ผลงานวิชาการ 3 ชิ้น 2023 (จำนวนไม่สอดคล้องกับรายการท้ายเล่ม) 4.อ.อรอนงค์ นิธิภาคย์ คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อ ผลงานวิชาการ 2 ชิ้น 2565 5.ดร.ศรัณย์ คำจินดา คุณวุฒิปริญญาเอก ตำแหน่งวิชาการ อ ผลงานวิชาการ 5 ชิ้น 2023 (จำนวนไม่สอดคล้องกับรายการท้ายเล่ม) หลักสูตร 2563 ปรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 15 มีนาคม 2566 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ประจำหลักสูตรเป็นชุดเดียวกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มี 5 คน ซึ่งมีคุณสมบัติและผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มีเอกสารหลักฐานอ้างรายการหลักฐาน ศฐบ.1.1.03 เอกสารคุณวุฒิอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ อาจารย์ประจำหลักสูตร |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้สอน ได้ให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร [ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิต] - ตรวจสอบจำนวนผลงานวิชาการของ ผศ.ดร.วรรณกิตติ์ วรรณศิลป์ |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
2.จะครบกำหนด 5 ปี ปรับปรุงหลักสูตรปี 2567 เพื่อใช้ปีการศึกษา 2568เปิดดำเนินการในปีการศึกษา 2545 ปรับปรุงครั้งที่ 1 ในปี 2550 เพื่อใช้ในปี 2551-2553 ครั้งที่ 2 ในปี 2553 ปรับปรุงเพื่อใช้ในปี 2554 -2558 ครั้งที่ 3 ในปี 2558 ปรับปรุงเพื่อใช้ในปี2559 -2562 ครั้งที่ 4 ในปี 2562 ปรับปรุงเพื่อใช้ในปี 2563 – 2567 คำอธิบายส่วนท้ายอาจจะไม่จำเป็น ครบกำหนด 5 ปี 2568 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 10 | 4.74 |
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด | 2 | |
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | 4.74 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อหลักสูตรฯได้ใช้แบบส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิตในการเก็บข้อมูลจาก ผู้ใช้บัณฑิต โดยแบบส ารวจจะประกอบไปด้วยค าถามวัดระดับความพึงใจ 10 ระดับ ในคุณภาพบัณฑิต ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ5 ด้าน และค าถามวัดระดับความพึงใจ 10 ระดับ ใน ผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 จ านวน 3 ด้าน โดยในปี การศึกษา 2565 จ านวน บัณฑิตรวม 10 คน เก็บแบบส ารวจจากผู้ใช้บัณฑิตที่ท างานในองค์กรและธุรกิจของตนเองจ านวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 20.0 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อคะแนนเฉลี่ยรวมได้เท่ากับ 4.74 แต่ที่หน้า 28 ระบุคะแนน เท่ากับ 4.47 ตัวเลขน่าจะไม่ถูกต้อง ศฐบ.2.1.03 ผลการสำรวจภาวะการณ์มีงานทำของบัณฑิต ประจำปี 2565 ตัดออกเพราะอยู่ที่ 2.2 เอกสารสรุปแสดงการคำนวณความพึงพอใจ ในแต่ละด้าน |
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 10 | 4.17 |
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ | 7 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] | 2 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] | 2 | |
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร | 0 | |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา | 0 | |
ร้อยละที่ได้ | 83.33 | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | 4.17 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อจำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบส ารวจ 7 คน จากทั ้งสิ ้น 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 70.0 (ลดลงจากปี ที่แล้วซึ่ง เท่ากับร้อยละ 81.25) จ านวนบัณฑิตที่มีงานท าคิดเป็ นร้ อยละ 83.33 (ลดลงจากปี ที่แล้วซึ่งเท่ากับร้อยละ 100.0) ซึ่งแบ่ง ออกเป็ นท างานกับหน่วยงานหรือองค์กรร้อยละ 28.57 (เพิ่มขึ ้นจากปี ที่ผ่านมาซึ่งเท่ากับร้ อยละ 23.07) 29 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐกิจดิจิทัล ท างานกิจการของครอบครัวร้อยละ 28.57 (ลดลงจากปี ที่ผ่านมาซึ่งเท่ากับร้อยละ38.46) และพบบัณฑิตที่ ยังไม่ได้ท างานร้อยละ 14.28 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.นิศากร จุลรักษาข้อสังเกต -เนื่องจากหลักสูตร เก็บข้อมูลการมีงานทำจากหลักสูตรค่อนข้างเร็ว (ตั้งแต่ปลายปี 2565) หลักสูตรสามารถติดตามสอบถามบัณฑิตถึงการมีงานทำเพิ่มเติมได้ |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ศฐบ.2.2.02 รายชื่อบัณฑิตคณะเศรษฐศาสตร์ ประจำปี ควรใช้เลขเดียวกับ 2.1 เพิ่มเติมเอกสารสรุปภาพรวมการประเมินการมีงานทำงานของบัณฑิต |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิต- มีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด เป็น 2-3 เท่าของจำนวนนักศึกษาที่กำหนดไว้เป็นเป้าหมาย - มีแผนในการรับนักศึกษาทั้งนักศึกษาปกติ และผู้พิการ อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ คณะ ได้ทำความร่วมมือกับมูลนิธิมหาไถ่ซึ่งมีการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาผู้พิการในระดับที่ตำกว่าปริญญาตรีในการรับนักศึกษาผู้พิการมาเรียนต่อในหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรมีระบบและกลไกการรับสมัครและคัดเลือกนักศึกษา ขั้นตอนในการดำเนินงานเป็นดังนี ้ ขั้นตอนที่ 1 ประชุมหลักสูตรเพื่อวางแผนการรับนักศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมาย ขั้นตอนที่ 2 ดำเนินการวางแผนประชาสัมพันธ์ ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ขั้นตอนที่ 4 สรุปและประเมินผลการรับนักศึกษา เมื่อพิจารณาผลจากการดำเนินการตามแผนการรับสมัครที่ดำเนินการหลักสูตรประเมินว่าได้ ผลสัมฤทธิ์ที่พึงพอใจในระดับดีโดยจะนำแนวปฏิบัติที่ดีต่อไป ผศ.นิศากร จุลรักษา หลักสูตรได้รับนักศึกษาพิเศษ (ผู้พิการ) จากมูลนิธิมหาไถ่ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ซึ่งส่งผลดีต่อจำนวนนักศึกษาแรกเข้า หากหลักสูตรยังสามารถรักษาความร่วมมือนี้ได้อย่างต่อเนื่องจะเป็นประโยชน์ต่อหลักสูตรได้เป็นอย่างดี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.นิศากร จุลรักษา- ข้อคิดเห็นในเบื้องต้น ในเบื้องต้น ใส่ 3 คะแนน หากหลักสูตรลงรายละเอียดถึงสิ่งที่ได้ดำเนินการในปี 2565 จนเห็นผลชัดเจน ซึ่งทางหลักสูตรน่าจะได้ดำเนินการแต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึงรายละเอียด สามารถปรับเป็น 4 คะแนนตามที่หลักสูตรประเมินมาได้ สิ่งที่น่าจะสามารถลงรายละเอียดได้ ยอดนักศึกษาเพิ่ม 40% จากปีก่อนหน้า (ecomomics camping ทำกิจกรรมอย่างไร มีส่วนหรือไม่) |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิตมีการเตรียมความพร้อมนักศึกษาทั้งการใช้ชีวิต ผ่านการเรียนการสอน กิจกรรมการปฐมนิเทศ อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ ขั้นตอนที่ 1 เพื่อให้นักศึกษาใหม่มีความพร้อมก่อนเริ่มศึกษา จึงจัดให้มีการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ โดยนักศึกษาใหม่ได้พบกับคณาจารย์ รุ่นพี่ รวมถึงได้รับฟังข้อมูลข่าวสารที่จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการเรียนเพื่อให้สำเร็จการศึกษาได้ตามกำหนด ตลอดจนข้อมูลสวัสดิการต่างๆที่นักศึกษาใหม่จะได้รับจากทางมหาวิทยาลัย ขั้นตอนที่ 2จัดกิจกรรมต่างๆเพื่อความสัมพันธ์อันดีระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ด้วยสถานการณ์ที่ดีขึ้นของการแพร่ระบาดของโควิด 19 ในปี การศึกษา 2565 คณะจึงจัดกิจกรรม ต่างๆต่อเนื่องตลอดทั้งปีนักศึกษาใหม่ได้รับการดูแลจากอาจารย์ของหลักสูตรอย่างใกล้ชิดผ่านช่องทาง ไลน์กลุ่มและไลน์ส่วนตัวเป็นหลัก นักศึกษาสามารถติดต่อสอบถามอาจารย์ได้ตลอดเวลาเมื่อมีปัญหาหรือ ข้อสอบถาม ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหา และการพัฒนา จากการวิเคราะห์ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า นักศึกษาแรกเข้ามักจะมีปัญหาในการปรับตัวจากการ เปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันระหว่างมัธยมศึกษากับมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้มีการ ปรับตัวภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดจากอาจารย์ของคณะ ทางหลักสูตรจึงให้นักศึกษาใหม่ลงทะเบียนเรียน วิชา RSU 111 วิชาสังคมธรรมาธิปไตย และวิชา RSU 154 แนวคิดในการเป็นผู้ประกอบการในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ในภาคการศึกษาแรกเข้า ซึ่งทังสองวิชาอาจารย์ของคณะเป็นผู้สอนเอง ทำให้นักศึกษาได้ ใกล้ชิดกับอาจารย์ของคณะ อาจารย์สามารถสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา และคอยดูแลให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาเมื่อนักศึกษาเกิดปัญหาขึ้น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิต-ขอให้รายงานการเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่เป็นผู้พิการ ว่าหลักสูตรมีแนวทางการเตรียมความพร้อมอย่างไร เป็นพิเศษ หรือไม่ เพื่อให้ นักศึกษากลุ่มนี้สามารถเข้าศึกษาในหลักสูตรได้ และประสบความสำเร็จในการเรียน ผศ.นิศากร จุลรักษา ข้อคิดเห็นในเบื้องต้น ในเบื้องต้น ใส่ 3 คะแนน หากหลักสูตรลงรายละเอียดถึงสิ่งที่ได้ดำเนินการในปี 2565 จนเห็นผลชัดเจน ซึ่งทางหลักสูตรน่าจะได้ดำเนินการแต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึงรายละเอียด สามารถปรับเป็น 4 คะแนนตามที่หลักสูตรประเมินมาได้ สิ่งที่น่าจะสามารถลงรายละเอียดได้ การเตรียมความพร้อมให้นศ. เช่น จัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนศ. กับ อาจารย์ มีกิจกรรมใด หรือ เรียนรายวิชาของคณะเป็นรายวิชาแรกๆ มีอัตราการออกเมื่อเข้าเทอม 2 หรือ ขึ้นปีที่ 2 ลดน้อยลงหรือไม่ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ทบทวนข้อมูลในตารางองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา หน้า 30 ข้อมูลอาจคลาดเคลื่อนศฐบ.3.1.01 รายงานการประชุมของคณะที่เกี่ยวกับการรับนักศึกษาและการเตรียมพร้อม ก่อนรับเข้าศึกษา ในเล่ม มคอ.7 ไม่ตรงกับเอกสารหลักฐาน |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิตมีระบบและกลไก นำระบบและกลไกสู่การปฏิบัติจากผลการประเมินหลักสูตรจะนำจุดที่ควรปรับปรุงเช่น การให้ข้อมูลแก่นักศึกษาในทุกข้อสงสัย ไปพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาให้ดียิ่งขึ ้นในปีการศึกษา 2566 ต่อไป ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิต-มีโครงการส่งเสริมและพัฒนานักศีกษาที่หลากหลาย สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนานักศึกษาที่หลักสูตรกำหนดไว้ -หลักสูตรมีการกำหนด คุณลักษณะของนักศึกษาที่พึงประสงค์ของหลักสูตร อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ มีการนำระบบและกลไกสู่การปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 คณะกรรมการประจำหลักสูตรฯ ประชุมกำหนดแผนงานเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยในปีการศึกษา 2565 มีโครงการ/กิจกรรม จำนวนทังสิ ้น 7 โครงการ/กิจกรรม ขั้นตอนที่ 2 ดำเนินการตามแผนงานที่กำหนดไว้ ขั้นตอนที่ 3 หลักสูตรได้ทำการประเมินผลดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรม ขั้นตอนที่ 4 การนำผลการประเมินไปวางแผนปรับปรุง จากผลของการประเมินโครงการ/กิจกรรม พบข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ซึ่งทางหลักสูตร เศรษฐศาสตรบัณฑิตจะนำข้อเสนอแนะจากการประเมินในปี การศึกษา 2565 ไปวางแผนในการ ดำเนินการ ให้ดียิ่งขึ ้นต่อไปในปี การศึกษา 2566 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิตขอให้รายงานการวัดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนานักศึกษา จากคุณลักษณะ 3 ประการ วัดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอย่างไร หลักสูตรทราบอย่างไร โดย evidence based ว่า นศ. ได้รับการพัฒนาตามที่กำหนดจริง ผศ.นิศากร จุลรักษา - หากหลักสูตรลงรายละเอียดมากขึ้น ถึงสิ่งที่ได้ดำเนินการในปี 2565 จนเห็นผลชัดเจน จะช่วยยืนยัน 4 คะแนนตามที่หลักสูตรประเมินมาได้ชัดเจนขึ้น (หลักสูตรเขียนรายงานค่อนข้างน้อย ต้องอาศัยดูจากหลักฐานประกอบจึงเข้าใจสิ่งที่ได้ดำเนินการ) สิ่งที่อาจใช้นำเสนอเพื่อให้เห็นผลชัดเจน 1) กิจกรรม/โครงการที่จัดให้ช่วยพัฒนาศักยภาพนักศึกษาอย่างไร ผลที่นักศึกษาได้รับ และผลประเมิน 2) การส่งนักศึกษาเข้าร่วมสหกิจศึกษากับหน่วยงานภายนอก เพิ่มจากปีก่อนหน้าหรือไม่ และถ้าเป็นนักศึกษาปี 4 มีผู้ได้งานต่อหรือไม่ |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิตมีการส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างงานวิจัย หากเพิ่มเติมด้วยการเผยแพร่ผลงานวิชาการนั้น ในเวทีต่าง ๆ น่าจะช่วยเพิ่มคุณค่ากับผลงานวิจัยนั้น อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ คณะเศรษฐศาสตร์เล็งเห็นความส าคัญและประโยชน์ของงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่ จะสามารถน าองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ จึงได้บรรจุวิชาระเบียบวิธีวิจัยและการ ท าโครงงานทางด้านเศรษฐศาสตร์ให้เป็ นวิชาบังคับในหลักสูตร มีการสอนการใช้เครื่องมือส าเร็จรูปที่ใช้ใน การวิจัยเพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณ อาทิ SPSS, EVIEWs เป็นต้น ผศ.นิศากร จุลรักษา หลักสูตรมีการกำหนดให้นักศึกษาผลิตงานวิจัย คนละ 1 เรื่อง ในรายวิชาบังคับของหลักสูตร พร้อมกับต้องมีการนำเสนอผลงานวิจัย ซึ่งเป็นการช่วยพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการสร้างผลงานวิจัยจากการปฏิบัติจริงได้อย่างดี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.นิศากร จุลรักษาข้อเสนอแนะ หากหลักสูตรสามารถผลักดันให้นักศึกษานำเสนอผลงานวิจัยในเวทีระดับชาติได้ จะได้ปรโยชน์ทั้งต่อตัวนักศึกษา คณาจารย์และหลักสูตร หากหลักสูตรลงรายละเอียดมากขึ้น ถึงสิ่งที่ได้ดำเนินการในปี 2565 จนเห็นผลชัดเจน จะช่วยยืนยัน 4 คะแนนตามที่หลักสูตรประเมินมาได้ชัดเจนขึ้น (หลักสูตรเขียนรายงานค่อนข้างน้อย ต้องอาศัยดูจากหลักฐานประกอบจึงเข้าใจสิ่งที่ได้ดำเนินการ) สิ่งที่อาจใช้นำเสนอเพื่อให้เห็นผลชัดเจน การกำหนดให้นักศึกษาผลิตผลงานวิจัยคนละ 1 เรื่อง มีนักศึกษาเข้าร่วมกี่คน ผลงานวิจัยของนักศึกษาที่สำเร็จคือเรื่องใดบ้าง พร้อมผลประเมินจากผู้ร่วมฟังการนำเสนอผลงาน |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อศฐบ.3.2.03 ค าสั่งแต่งตั ้งคณะกรรมการก าหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณะเศรษฐศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 ไม่มีเอกสารหลักฐาน ศฐบ.3.2.05 PDCA โครงการพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพแก่เยาวชนในพื ้นที่หลักหกและพื ้นที่ ใกล้เคียง ไม่มีเอกสารหลักฐาน ศฐบ.3.2.08 แบบส ารวจและผลความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ปี การศึกษา 2565 ซ้ำกับตัวบ่งชี้ 2.1 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 70.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 56.25
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 47.06 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ทางหลักสูตรควรมีการประชุมหารือเพื่อหาแนวทางในการดูแลนักศึกษาเพื่อให้มีอัตราคงอยุ่ที่ดีขึ้น เพราะแนวโน้มตลอด 3 ปี มีอัตราคงอยุ่มียอดลดลง |
|
การสำเร็จการศึกษา |
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 65.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 50.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 41.18 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ทางหลักสูตรควรมีการประชุมหารือเพื่อหาแนวทางในการดูแลนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาเพื่อให้มีอัตราที่ดีขึ้น เพราะแนวโน้มตลอด 3 ปี มีอัตราสำเร็จการศึกษามียอดตกลง คำนวณเฉพาะ นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาก่อนเวลาที่กำหนดไว้ และ ตามเวลา (4 ปี) สำหรับ นศ ที่สำเร็จการศึกษาเกินเวลา ไม่นำมาคำนวณ หลักสูตรฯ ระบุ เรื่องการสำเร็จก่อนเวลา แต่จากตาราง ยังไม่พบการสำเร็จการศึกษาก่อนเวลา |
|
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา |
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.65
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.44
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.54
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คณะเศรษฐศาสตร์ได้เปิดช่องทางให้นักศึกษาติดต่อและรับขอร้องเรียนของนักศึกษาในช่องทางที่ หลากหลาย อาทิ ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำหลักสูตร ตลอดจนเจ้าหน้าที่ของคณะ โดยขึนอยู่กับความไว้วางใจของนักศึกษา ช่องทางการติดต่อได้แก่ ไลน์ส่วนตัว อีเมล์ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ทบทวนข้อมูลในตารางองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา หน้า 30 และ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา หน้า 41 ข้อมูลอาจคลาดเคลื่อนศฐบ.3.3.03 เอกสารค าร้องนักศึกษาขอความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และการให้ค าปรึกษา ผ่านช่องทางไลน์ ไม่มีเอกสารหลักฐาน ศฐบ.3.3.04 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์ที่ปรึกษาศฐบ. ไม่มีเอกสารหลักฐาน ศฐ.บ.3.3.08 รายงานการประชุมอาจารย์ปี การศึกษา 2565 ในการแก้ ปัญหาการตกออก ลาออก การจัดแนวทางในการเรียน การบริการต่าง ๆ ให้นักศึกษา ไม่มีเอกสารหลักฐาน ศฐ.บ.3.3.09 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาใน การส่งเสริมให้เกิดการสร้ างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถ น าองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาต ควรจะเป็นแบบสอบถามที่สอบถามนักศึกษาไม่ใช่ แบบประเมินการฝึกงาน |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อมีระบบและกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ชัดเจน ทำให้การดำเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์มากตรฐานหลักสูตร ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาอัตรากำลังของคณะและแผนการปรับปรุงหลักสูตร ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิตมีการดำเนินงานด้านการบริหารอาจารย์ในประเด็นที่หลากหลาย ทั้งการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ การบริหารภาระงาน การมอบหมายงานตามภารกิจต่าง ๆ ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ ผลการบริหารอาจารย์ในปี 2565 หลักสูตรได้กำหนดภารกิจหลักไว้ 3 ประการ และแบ่งหน้าที่เพื่อให้อาจารย์รับผิดชอบในแต่ละภารกิจ จากการกำาหนดและการติดตาม บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่ละท่านตามภารกิจหลักทั ้ง 3 ประการ ปรากฏผลว่า 1) ในด้านการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร มีการเพิ่มเติมรายวิชาให้มีความทันสมัยมากขึน โดยหลักสูตรได้พัฒนาเนือหารายวิชาใหม่ Japanese Economy ในรายวิชา ECO498 เศรษฐศาสตร์: ศึกษาเฉพาะเรื่อง เพื่อขยายขอบเขตองค์ความรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจต่างประเทศ รวมไปถึงการเตรียมความพร้อมในการฝึกงาน 2) ในด้านการตลาดเพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณาจารย์ในหลักสูตรได้มีการช่วยกันประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องตลอดทังปีและท ำงานเชิงรุกลงพืนที่ไปยังโรงเรียนมัธยมศึกษาและ กลุ่มสมาคมของอาจารย์โรงเรียนมัธยม เช่น การลงพืนที่ไปแนะแนวยังโรงเรียนสารสาสน์วิเทศคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ร่วมกับฝ่ายแนะแนวและรับสมัครนักศึกษา และการตลาดออนไลน์ เช่น การลงโฆษณา ในเวปไซด์ Facebook คณะ WEB Eduzone และ Facebook ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งผลงานด้านการตลาดที่ดำาเนินการมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 และต่อเนื่องปีการศึกษา 2564 ส่งผลให้ในปี การศึกษา 2565 หลักสูตรมีนักศึกษาใหม่ในหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิตรวมกันทั้งนักศึกษาภาคปกติและโครงการพิเศษได้มากถึง 61 คน ซึ่งเพิ่มขึนจากปี 2564 ที่มีนักศึกษาใหม่ 50 คน ดังนันในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรรับนักศึกษาได้มากขึนกว่าปีก่อน จำนวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 22 3) การดูแลนักศึกษาให้คงอยู่ในหลักสูตร และการเสริมทักษะผ่านกิจกรรมนักศึกษา ปีการศึกษา 2565 ทางหลักสูตรได้มอบหมายให้ ผศ.ผการัตน์ จ าปาน้อย เป็ นอาจารย์ผู้ดูแลกิจกรรม นักศึกษาระดับปริญญาตรี ดูแลให้ค าปรึกษาแก่สโมสรนักศึกษาในการวางแผนจัดกิจกรรมเสริม และมีทีม คณาจารย์เป็ นที่ปรึกษาในการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาในทุกเรื่องทั ้งแบบออนไซท์และแบบออนไลน์ใน กรณีที่นักศึกษาไม่สามารถเดินทางมายังมหาวิทยาลัยได้ และช่วงปลายเทอม 2/65 ได้มีการจัดกิจกรรม โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาโดยมีนักศึกษาชั ้นปี ที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ผลคือ หลักสูตร ยังรักษานักศึกษาให้คงอยู่ได้ ส าหรับนักศึกษาโครงการพิเศษ ที่เป็ นการให้โอกาสทางการศึกษาให้แก่ผู้ พิการ มี อาจารย์อรอนงค์ นิธิภาคย์ และ รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรแระเสิรฐ เป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาผู้ดูแลให้ ค าปรึกษากับนักศึกษากลุ่มนี ้โดยเฉพาะ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิตมีการรายงานบางประเด็นที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นประเมิน อาทิ การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านการวิจัย การเสนอผลโครงงานวิจัยของนักศึกษา หากนำเสนอ/รายงานประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารอาจารย์ (เป้าหมาย: การดำเนินงานของอาจารย์ในด้านการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล มากขึ้น) อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ หน้าที่ 48 ระบุว่ารับนักศึกษาปี 2565 จำนวน 61 คน แต่หน้า 30 และ 41 ระบุว่า ปี 2565 รับนักศึกษา 70 คน |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ1. ทางหลักสูตรมีระบบและกลไกการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ที่ชัดเจน โดยอาจารย์ทุกคนมีแผนพัฒนารายบุคคล 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสุตรทุกคนได้รับการอบรม 3.มีการเลื่อนต าแหน่งทางวิชาการ โดยผู้รับผิดชอบหลักสูตรคนใหม่ 1 คน คือ รศ.ดร.วรวิทย์ เจริญ เลิศ ด ารงต าแหน่ง รองศาสตราจารย์ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ จงกลสถิต-เน้นการรายงานผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร -สำหรับเรื่องการบริการวิชาการ หากมีการรายงานว่าเมื่อ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสุตร และอาจารย์ประจำหลักสูตร ไปดำเนินกิจกรรมการบริการวิชาการแก่ชุมชน / สังคมภายนอก แล้ว เกิดประโยชน์ในต่ออาจารย์บ้าง (อาจารย์ได้รับการพัฒนาอย่างไร เอามาเป็นประโยชน์ในการวิจัย/การจัดการการเรียนการสอน?) -ขาดกิจกรรมของ ผศ.ผการัตน์ อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ ผลของระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ที่เกิดกับอาจารย์ในปี การศึกษา 2565 หน้าที่ 51 -52 ควรระบุเฉพาะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เพิ่มเติมรายการหลักฐานตามที่รายงานในผลการดำเนินการ อาทิ เรื่องการบริการวิชาการ การพัฒนาอาจารย์ อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ 1. ศฐบ. 4.1.01 มคอ.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2563) 2. ศฐบ.4.1.02 ผลงานทางวิชาการอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ อาจารย์ประจ าหลักสูตร ควรใช้เลขที่เอกสารเดียวกับตัวบ่งชี้ 1.1 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 3 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 60.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน มีอาจารย์คุณวุฒิ ป.เอก 3 ท่าน คือ ผศ.ดร.มานวิภา อินทรทัต , ดร.ศรัณย์ ค าจินดา และ รศ.ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ คิดเป็ นร้อยละ 60 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 2 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 2 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 1 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 3 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 60.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มี ผศ 2 ท่าน และ รศ 1 ท่านมีการพัฒนาตำแหน่งวิชาการอย่างต่อเนื่อง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน มีอาจารย์ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 ท่าน คือ ผศ.ดร.มานวิภา อินทรทัต และ ผศ.ผการัตน์ จำปาน้อย คิดเป็ นร้อยละ 40 ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1 ท่าน คือรศ.ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ คิดเป็ นร้อยละ 20 รวมเป็ นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด ร้อยละ 60 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หน้า 54 ระบุอาจารย์ที่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิป.โท 2 คน ที่ถูกต้องคือ อาจารย์ที่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิป.โท 1 คน ป.เอก 1 คน |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 1 | 0 | 2 | 5 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 5.40 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 108.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีผลงานวิจัยทั้ง TCI1, TCI2 และ National conference ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐกิจดิจิทัล คณะ เศรษฐศาสตร์ มีจำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ได้รับการตีพิมพ์ จำนวน 8 ชิ้น ซึ่งทางหลักสูตรจะดำเนินการวางแผนในการสนับสนุนให้ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจัดทำผลงานทางวิชาการเพิ่มขึขึ้นใน ปีถัดไป ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ศฐบ.4.2.01 ผลงานทางวิชาการอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ อาจารย์ประจ าหลักสูตร ควรใช้เดียวกับ 1.1 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2565 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 คน มีการเปลี่ยนแปลง 2 คน เนื่องจากการ ลาออก 1 คน และการเกษียณ 1 คน มีอัตราการคงอยู่ 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 60 อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ ประจ าหลักสูตรดังกล่าว และมีการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคนใหม่ 2 คน มาทดแทนเพื่อให้การ ด าเนินงานของหลักสูตรมีความต่อเนื่อง และมีคุณภาพ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบหลักสูตร ๒ คนตรวจสอบระยะเวลาการเข้ามาเป็นผู้รับผิดชอบหลักสุตรของ ๒ ท่าน ว่าเกิน 9 เดือนหรือไม่ ปี 2565 การลาออก 1 คน และการเกษียณ 1 คน มีอัตราการคงอยู่ ควรเป็น 4 คน คิดเป็นร้อยละ 80 เพราะการเกษียณและมีอาจารย์มาทดแทนจะถือว่ามีอัตราคงอยู่ |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.28 --> 4.32 --> 4.36ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้ รับผิดชอบหลักสูตร มีแนวโน้มดีขึ้นตลอด 3 ปี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ศฐบ.4.3.03 มคอ.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2563) ซ้ำควรใช้เลขเดียวกับ 1.1 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการรับฟังข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผู้รับผิดชอบหลักสูตรจาก stakeholderอาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ มีระบบกลไก การออกแบบหลักสุตร และสาระรายวิชา มีการประเมินผล มีการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน และในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรได้ร่วมมือกับ บริษัท BitKub ในการร่วมสอนวิชา RSU156 คริปโต ศึกษา และได้ปรับปรุงเนือหาวิชาและเปิดรายวิชาใหม่ จ านวน 2 วิชา ได้แก่ รายวิชา RSU 156 คริปโตศึกษา (Crypto study) และรายวิชา ECO498 เศรษฐศาสตร์: ศึกษาเฉพาะเรื่อง โดยมี เนื ้อหาเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับ เศรษฐกิจญี่ปุ่ น (Japanese Economy) ผศ.นิศากร จุลรักษา หลักสูตรมีความร่วมมือกับสถานประกอบการภายในหลายแห่ง และต่อเนื่องมาหลายปี ซึ่งเป็นส่วนดีที่ให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์จริงในวิชาชีพนี้ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.นิศากร จุลรักษาข้อสังเกต หากหลักสูตรลงรายละเอียดกิจกรรม หรือความร่วมมือที่ได้ทำร่วมกับ บริษัทต่างๆที่ทำ MOU ไว้ให้มากขึ้น จะช่วยสนับสนุนผลการดำเนินงานที่เห็นผลเป็นรูปธรรมในองค์ประกอบนี้มากขึ้น |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อในปีการศึกษา 2565 ได้ปรับปรุงเนือหาวิชาและเปิดรายวิชาใหม่ จ านวน 2 วิชา ได้แก่ รายวิชา RSU 156 คริปโตศึกษา (Crypto study) และรายวิชา ECO498 เศรษฐศาสตร์: ศึกษาเฉพาะเรื่อง โดยมี เนื ้อหาเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับ เศรษฐกิจญี่ปุ่ น (Japanese Economy) ผศ.นิศากร จุลรักษา หลักสูตรมีการปรับรายวิชาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน มีรายวิชาใหม่ที่เปิดสอนได้ทันกับสถานการณ์เช่น คริปโตศึกษา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในตารางคุณภาพการสอน ขอให้ระบุแผนในการปรับปรุง เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไปขอให้รายงานการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาสาระ ตาม KR เพิ่มขึ้น เพื่อให้บรรลุ >80% ของรายวิชา ครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงกรณีศึกษา เทคนิคการสอน เนื้อหาของรายวิชา/หัวข้อ ผศ.นิศากร จุลรักษา ข้อสังเกต หากหลักสูตรลงรายละเอียดถึงรายวิชาใหม่ๆของหลักสูตรที่แสดงถึงความก้าวหน้าในศาสตร์ เช่น วิชาดังกล่าวสอนเกี่ยวกับอะไร สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างไร มีนศ.มาเรียนจำนวนมากแค่ไหน ผลประเมินจากนศ.ในรายวิชาดังกล่าว สะท้อนถึงการจัดรายวิชาได้ตอบสนองความต้องการและทันการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ เป็นต้น จะช่วยสนับสนุนผลการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐกิจดิจิทัล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) เดิม มีเพียงการกำหนดมาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบ TQF เท่านั ้น ในปี การศึกษา 2565 หลักสูตร จึงได้น ามาตรฐานผลลัพธ์ผู้เรียน (DOE) มาใช้เพื่อเพิ่มคุณภาพของหลักสูตร ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อร้อยละ จำนวนวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันฯ (b/a)*100= 14.28 (เพื่อใช้ส่งรายงานผลดำเนินงานของหลักสูตรตาม Key Result ที่ KR 1.2.1 มีการปรับเปลี่ยน กระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การสอนมุ่งสู่ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง โดยมีค่าเป้าหมายปีการศึกษา 2565 ที่ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่เปิดสอนทังหมดในปีการศึกษา) การกำหนดเลขที่เอกสารหลักฐานควรอ้างอิงตัวบ่งชี้ที่มาก่อน ไม่ใช่กำหนดเลขที่ใหม่ทุกครั้ง ผศ.นิศากร จุลรักษา ข้อสังเกต 1) จำนวนรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2565 รายงานหน้า 84 ระบุมี 28 รายวิชา ซึ่งไม่ตรงกับจำนวนรายวิชาในรายงานหน้า 73 - 76 มี 25 รายวิชา 2) ค่าเป้าหมายท้ายตารางหน้า 84 ระบุว่า ตาม KR 1.2.1 ตั้งไว้ที่ 80% ของรายวิชาที่เปิดสอน ซึ่งหลักสูตรรายงานไว้ 4 รายวิชาในส่วนนี้ก็จะไม่บรรลุเป้าหมาย (แต่ไม่ได้มีผลต่อคะแนน QA) |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อหลักสูตรมีระบบและกลไกในการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ หลักสูตรฯ มีประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ความจำากัดของทรัพยากร ในปี การศึกษา 2565 หลักสูตรมีการจัดผู้สอนในรายวิชาต่างๆ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ได้มีการกำาหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชาในหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิตตามคุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญ และ ประสบการณ์ของอาจารย์แต่ละท่าน โดยพิจารณาทั ้งในแง่ประสบการณ์เรียน ประสบการณ์สอน ประสบการณ์ทำงาน และประสบการณ์วิจัย ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรมีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ดังต่อไปนี ้ วิชา RSU 154 แนวคิดการประกอบการในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ได้ให้นักศึกษาไป สัมภาษณ์ชาวบ้านและผู้ประกอบการต่างๆและจัดท าคลิปวีดีโอลง YouTube เพื่อให้ ความรู้ แก่สาธารณะและช่วยประชาสัมพันธ์ธุรกิจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นการบริการ สังคมอีกทางหนึ่งด้วย วิชา ECO 394 ระเบียบวิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ มีสอดแทรกตัวอย่างการทำวิจัย และผลการวิจัย ของอาจารย์ ในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการวิจัยแก่ ผู้เรียนที่น าไปสู่การร่วมสร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมให้กับประเทศ วิชา ECO 490 การฝึ กงาน มีการให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ที่ได้รับจากหลักสูตร เพื่อสนอง ความต้องการของสังคม และเรียนรู้เพื่อรับใช้สังคม ไปให้บริการแก่สถานประกอบการ หรือหน่วยงานต่างๆที่ต้องการความสนับสนุน อีกทังยังเป็นการเพิ่มประสบการณ์ ให้แก่ผู้เรียนด้วย วิชา ECO 496 โครงงานทางด้านเศรษฐศาสตร์ มีการให้นักศึกได้ทำโครงงานในหัวข้อที่ตนเองสนใจภายใต้การแนะนำจากอาจารย์พี่เลียงที่มีการทำวิจัยหรือบริการ สังคมในหัวข้อที่นักศึกษาทำ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.นิศากร จุลรักษาข้อสังเกต 1) ข้อมูลการจัดรายวิชาใหกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีไม่ครบทุกท่าน (หน้า 99 - 100) 2) มีอาจารย์ที่เข้าอบรมการใช้เทคโนโลยีสื่อการสอนสำหรับนักศึกษาพิการทางการเห็น ซึ่งหากอาจารย์ร่วมสอนในนักศึกษากลุ่มพิเศษด้วย น่าจะเป็นอีกหนึ่งการจัดผู้สอนได้เหมาะสมกับการพัฒนามาเป็นอย่างยิ่ง |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อหลักสูตรมีระบบและกลไกในการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และมคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน ครบถ้วนทุกรายวิชาทั ้ง 28 วิชา ที่เปิดสอน ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรมีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ดังต่อไปนี ้ วิชา RSU 154 แนวคิดการประกอบการในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ได้ให้นักศึกษาไป สัมภาษณ์ชาวบ้านและผู้ประกอบการต่างๆและจัดท าคลิปวีดีโอลง YouTube เพื่อให้ ความรู้ แก่สาธารณะและช่วยประชาสัมพันธ์ธุรกิจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นการบริการ สังคมอีกทางหนึ่งด้วย วิชา ECO 394 ระเบียบวิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ มีสอดแทรกตัวอย่างการทำวิจัย และผลการวิจัย ของอาจารย์ ในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการวิจัยแก่ ผู้เรียนที่น าไปสู่การร่วมสร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมให้กับประเทศ วิชา ECO 490 การฝึ กงาน มีการให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ที่ได้รับจากหลักสูตร เพื่อสนอง ความต้องการของสังคม และเรียนรู้เพื่อรับใช้สังคม ไปให้บริการแก่สถานประกอบการ หรือหน่วยงานต่างๆที่ต้องการความสนับสนุน อีกทังยังเป็นการเพิ่มประสบการณ์ ให้แก่ผู้เรียนด้วย วิชา ECO 496 โครงงานทางด้านเศรษฐศาสตร์ มีการให้นักศึกได้ทำโครงงานในหัวข้อที่ตนเองสนใจภายใต้การแนะนำจากอาจารย์พี่เลียงที่มีการทำวิจัยหรือบริการ สังคมในหัวข้อที่นักศึกษาทำ ผศ.นิศากร จุลรักษา หลักสูตรกำหนดรายวิชาที่ให้มีการบูรณาการการวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย พร้อมกับต้องมีการประเมินผลการบูรณาการ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- รายวิชาใดที่บูรณาการเข้ากับการทำนุบำรุงศิลปะฯ |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ศฐบ. 5.2.03 รายงานการประชุมคณะเศรษฐศาสตร์ ปี การศึกษา 2565 เป็น MOUผศ.นิศากร จุลรักษา ข้อคิดเห็นในเบื้องต้น ในเบื้องต้น ใส่ 3 คะแนน หากหลักสูตรลงรายละเอียดถึงสิ่งที่ได้ดำเนินการในปี 2565 จนเห็นผลชัดเจน ซึ่งทางหลักสูตรน่าจะได้ดำเนินการแต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึงรายละเอียด สามารถปรับเป็น 4 คะแนนตามที่หลักสูตรประเมินมาได้ สิ่งที่น่าจะสามารถลงรายละเอียดได้ 1) การกำหนดผู้สอน เมื่อหลักสูตรจัดผู้สอนโดยพิจารณาทั้งคุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ แล้ว ผลจากการกำหนดผู้สอนดังกล่าว เป็นอย่างไร ซึ่งอาจพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาได้ 2) การจัดการเรียนการสอน ที่ทางหลักสูตรไม่ได้กล่าวรายละเอียดไว้ เช่น จัดการเรียนทางเลือกแบบ 2 ปริญญาภายใน 4 ปี , การเน้นการจัดแบบมีสหกิจศึกษา หรือการจัดการเรียนการสอนให้กับนศ.กลุ่มพิเศษอย่างไร |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อในปี การศึกษา 2565 นักศึกษา หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐกิจดิจิทัล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 โดย เชื่อมโยงการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบ TQF ข้างต้นกับผลลัพธ์ผู้เรียน (DOE) ทั ้ง 3 ด้านอย่าง ครบถ้วน ผ่านการเรียน รายวิชา 18 รายวิชา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิตมีระบบและกลไกในการตรวจสอบผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อมีระบบและกลไก การดำเนิน การประเมินผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรได้ดำเนินงานการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ว่าเป็ นไปอย่างถูกต้อง ตรงกับที่ก าหนดไว้ในแผนการสอนรายวิชาและหลักสูต รและผู้สอนได้ท าการ ประเมินผลการเรียนรู้ครบทั ้ง 5 ด้านโดยมีหลักฐานที่เชื่อถือได้ ครบทั ้ง 27 รายวิชา ที่เปิดในปีการศึกษา โดยหลักสตู รมีการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์7 วิชา คิดเป็ นร้อยละ 25.93 ของรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรมีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ดังนี ้ มีการจัดทำาแบบสำรวจประเมินผลการเรียนรู้ออนไลน์ จากนักศึกษาทุกคนที่ลงทะเบียนเรียนทุกรายวิชาของหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลังสินสุดภาคการศึกษาทุกภาค ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
มีการอ้างอิงเอกสารหลักฐานตัวบ่งชี้เดิม ไม่ต้องให้เลขที่ใหม่ |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- -ขาดรายงานการประชุม ศฐบ.5.4.02 |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- -ขาดรายงานการประชุม 5.4.02 |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-องค์ประกอบที่ 5 ระบุ เปิดสอน 28 รายวิชา หากทวนสอบ 7 รายวิชา = 25%ขอความกรุณาตรวจสอบ (จำนวนรายวิชาที่เปิดสอน) |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- พัฒนาในประเด็นใดบ้าง |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีอาจารย์ใหม่ ๒ ท่าน ได้รับการปฐมนิเทศอย่างไร มีรายการหลักฐานหรือไม่? |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การอบรมของสายสนุบสนุนการเรียนการสอน หากเป็นการพัฒนาที่เน้นทางด้านการสนับสนุน จะเกิดประโยชน์ทั้งต่อผู้เข้ารับการอบรมและหลักสูตร เช่น การพัฒนาทักษะด้านภาษา หรือ ทักษะทางด้านการใช้เทคโนโลยี เป็นต้น |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 15 | 5 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 15 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 100.00 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อการประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมี เป้าหมายในปี การศึกษา 2565 คือผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้คะแนนเฉลี่ยไม่ต ่ากว่า 4.50 (คะแนนเต็ม 5.0) มีการนำาผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้มา พิจารณาเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงตามผลการประเมิน ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มีนโยบายให้อาจารย์ผู้สอนพัฒนาการเรียน การสอนในรายวิชาต่างๆ จึงได้มีการประชุมระดมความคิดเห็นและสำรวจความต้องการเกี่ยวกับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านต่างๆของหลักสูตร และข้อเสนอแนะจากคณาจารย์และนักศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านต่างๆของหลักสูตร ผ่านการประชุมประจำเดือนของคณะเศรษฐศาสตร์ และการประเมินผลของนักศึกษา พบว่าความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาเศรษฐศาสตร์ ประกอบไปด้วย 1) สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในห้องเรียน อาจารย์ใช้โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีความสนุกสนานมากขึน โปรแกรมสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อการท าวิจัยของนัก เศรษฐศาสตร์ โปรแกรมการวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อการวิจัย การใช้แอปพลิเคชัน ต่างๆ 2) สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้นอกห้องเรียน แอปพลิเคชันที่ช่วยในการสอนและการประชุมออนไลน์ เพื่อให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็ นไป ด้วยความสะดวกในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 3) ห้องทำกิจกรรมส าหรับนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ-สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาจะประกอบไปด้วยด้าน หลัก คือ ตำราสำหรับการศึกษาทฤษฎี ข้อมูลทางสถิติ บทความวิชาการและผลงานวิจัยของหน่วยงาน ต่างๆ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ ห้องทดลองทางสังคม และสถานที่ฝึกงาน ส าหรับนักศึกษาเศรษฐศาสตร์ ทางคณะเศรษฐศาสตร์ ยังได้จัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ไว้เป็นส่วนกลาง และจัดหา ให้อาจารย์และเจ้าหน้าที่ -มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เป็นห้องทดลองทางสังคมศาสตร์เพื่อการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ ห้องทดลองทางสังคมด้านแรงงาน จังหวัดปราจีนบุรี ห้องทดลองด้านสิ่งแวดล้อม ที่ชุมชนบางกระเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ ห้องทดลองทาง สังคมทางด้านการประกอบการในรูปแบบการเรียนรู้ทางออนไลน์ กับบริษัท กนกพร อินเตอร์เทรด จำกัด ตลอดจนสถานที่ฝึ กงานทางด้านเศรษฐศาสตร์ อาทิ ส านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ส านักงานการคลัง กรมการค้าระหว่างประเทศ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อ ผลการสำรวจความพึงพอใจของ นักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ปี 2565 ได้คะแนน 4.50 หลักสูตรฯ ได้นำผลการ ประเมินในปี 2564 มาปรับปรุงการให้บริการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมีการอบรมให้อาจารย์และ นักศึกษาใช้ประโยชน์จาก ipad ผ่านการฝึ กอบรมให้ใช้โปรแกรมต่างๆ โดยร่วมมือกับ RSU Cyber อบรม การใช้โปรแกรมตัดต่อคลิปวีดีโอ โปรแกรมการทำโปสเตอร์ โปรแกรม google form โปรแกรม Google docs Google sheets Google slides Goole drive เป็ นต้น และการอบรมเพิ่มเติมในการใช้โปรแกรมการ วิเคราะห์ทางสถิติ และโปรแกรม Turn it in การเรียนรู้และน าโปรแกรมเหล่านี ้ไปใช้จริง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ขอให้รายงานประเด็นการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์วัฒนี รัมมะพ้อศฐบ. 6.1.03 รายชื่อนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ รหัส 62 ที่เข้ารับการฝึ กงาน การท าโครงงานวิจัย ศฐบ. 6.1.08 ผลส ารวจความพึงพอใจของอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในหลักสูตร ปี 2564 ต้องเป็นปี 2565 |
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | 4.74 |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | 4.17 |
3.1 การรับนักศึกษา | 4.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 4.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 2.00 |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 3.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 5.00 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | 3.00 |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 4.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 3.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 3.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5.00 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 3.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 3.69 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | 2 | - | - | 4.46 | 4.46 | ระดับคุณภาพดีมาก |
3 | 3 | 3.33 | - | - | 3.33 | ระดับคุณภาพดี |
4 | 3 | 3.67 | - | - | 3.67 | ระดับคุณภาพดี |
5 | 4 | 4.00 | 3.67 | - | 3.75 | ระดับคุณภาพดี |
6 | 1 | - | 3.00 | - | 3.00 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
ผลการประเมิน | 3.57 | 3.50 | 4.46 | 3.69 | ระดับคุณภาพดี | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดีมาก |