รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาตจวิทยาและตจศัลยศาสตร์

วันที่ประเมิน: 9 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. ผศ.พญ.วนิดา ลิ้มพงศานุรักษ์
ข้อคิดเห็น
- Rujimethapass N., Chanveerachai S., Limpongsanurak W., & Singalavanija S. (2019). Cutaneous Manifestation of Langerhans Cell Histiocytosis in Neonate: A 3 Cases Report and Literature Review. J Med Assoc Thai. 102(11):1-6. (อาจารย์ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ให้ทันปีการศึกษา 2567)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. ผศ.พญ.วนิดา ลิ้มพงศานุรักษ์
ข้อคิดเห็น
- Rujimethapass N., Chanveerachai S., Limpongsanurak W., & Singalavanija S. (2019). Cutaneous Manifestation of Langerhans Cell Histiocytosis in Neonate: A 3 Cases Report and Literature Review. J Med Assoc Thai. 102(11):1-6. (อาจารย์ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ให้ทันปีการศึกษา 2567)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
- ปรับแก้ไขข้อผิดในผลงานวิชาการในหลักฐานดังที่ได้แก้ไขไว้ในเล่มรายงาน 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
- การแสดงคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน(พิเศษ) ของอาจารย์บางคนไม่ได้กล่าวถึงการมีผลงานวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง (2562-2566) ดังแสดงเป็นข้อสังเกตุในเล่มรายงาน (หน้า 29 ลำดับที่ 24,25,26 ว่ามีผลงานทางวิชาการหรือไม่) 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เนื่องจากจำนวนอาจารย์พิเศษในเล่มรายงานมี 31 คน แต่ในหลักฐานมีเพียง 26 คน จึงควรมีการตรวจสอบด้วย
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ปรับแก้ไขในผลงานวิชาการของอาจารย็ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม เพราะข้อกำหนดในผลงานวิชาการของผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ไม่ต้องพิจารณา 5 ปีย้อนหลัง) คือ
1. จำนวนผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง, หรือ
2. จำนวนผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง ทั้งนี้ต้องอยู่ในฐานขัอมูลที่ สป.อว.กำหนด, หรือ
3. กรณีที่จำนวผลงานในวารสารระดับนานาชาติน้อยกว่า 5 ชิ้น ให้นับรวมที่ตีพิมพ๋ในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง


หน้า 33 - 34 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขหลักฐานตาม comment ข้างต้น
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้ปรับแก้ไขผลงานวิชาการของผู้ทรงคุณวุฒิให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับปริญญาโทคือไม่ต้องพิจารณา 5 ปีย้อนหลัง และข้อกำหนดของแหล่งตีพิมพ์ผลงานคือ
1. ในวารสารระดับชาติไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง, หรือ
2. ในวารสารระดับนานาชาติไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง, หรือ
3. กรณีที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติน้อยกว่า 5 เรื่อง ให้นับรวมที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง


หน้า 35 -37 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้ปรับแก้ไขข้อมูลในหลักฐาน
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แผน ก1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
แผน ก2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการ (proceedings)
แผน ข รายงานการค้นคว้าหรือส่วนหนึ่งของการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
แก้ไขชื่อเรื่องของ นางสาวภาสินี ดีอุดมวงศา รหัสนักศึกษา 6406190 (หน้า 38) 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 7 0 0 3
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.80 5.00
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 116.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลงานวิจัยของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาได้รับการเผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ที่สามารถจะได้รับการรับรู้ในระดับสากล
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินการที่ครบถ้วนในการรับสมัครและคัดเลือกนักศึกษาที่สอดคล้องกับข้อกำหนดของหลักสูตร ซึ่งส่งผลให้นักศึกษาเข้าใหม่ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกำหในนดของหลักสูตร เช่น ความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษ ความสามารถในความรูัทางแพทยศาสตร์ เป็นต้น
2. หลักสูตรมีความทันสมัยและครอบคลุมทั้งด้านตจวิทยาและตจศัลยศาสตร์ ทำให้เป็นสนใจผู้เข้าเรียน
3. มีความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งจะเป็นการประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้บุคลากรในหน่วยงานต่างๆ มาศึกษาต่อในหลักสูตร และการส่งนักศึกษาในหลักสูตรไปดูงานหรือทาวิจัยในต่างประเทศ


แนวทางเสริม
หลักสูตรได้รับความสนใจจากภายนอกในการเข้าศึกษา แต่เนื่องจากหลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาที่ยังคงค้างอยู่ทำให้เกิดปัญหาในสัดส่วนของภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หลักสูตรจึงควรเพิ่มความชัดเจนในแผนการรับนักศึกษาควบคู่กับแผนการเตรียมความพร้อมในเรื่องการทำวิทยานิพนธ์


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การเพิ่มจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร จะทำให้สามารถรับนักศึกษาได้จำนวนเพิ่มขึ้น และช่วยลดภาระของอาจารย์ผู้รับผิดของและอาจารย์ประจำหลักสูตร ในการดูแลนักศึกษา 
- การที่นักศึกษาสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาที่ที่กำหนดในหลักสูตร จะเป็นหนึ่งแนวทางในการประชาสัมพันธ์หลักสูตร เป็นอย่างดี
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงานในการจัดหลากหลายกิจกรรมเพื่อการเตรียมความพร้อมของนักศึกษา โดยเริ่มจากการทราบศักยภาพพื้นฐานการทำวิจัยของนักศึกษาเข้าใหม่ในระหว่างการสัมภาษณ์เพื่อการรับเข้าศึกษา แต่ควรมีการทบทวนประเด็นเป้าหมายที่ต้องการและยังไม่สำเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่ ระยะเวลาของการจบการศึกษาตามที่กำหนดในหลักสูตร เป็นต้น เพื่อนำไปสู่การเตรียมความพร้อมในปัจจัยที่เกี่ยวข้องแก่ผู้เข้าเรียน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น โดยมีการทบทวนประเด็นเป้าหมายที่ต้องการและประเด็นที่ยังไม่สำเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่ ระยะเวลาของการสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดเป็นต้น เพื่อนำไปสู่การเตรียมความพร้อมในปัจจัยที่เกี่ยวข้องแก่ผู้เข้าเรียน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนในลักษณะของ PDCA ในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ในหลายด้านโดยเฉพาะการเพิ่มศักยภาพการทำวิจัยของนักศึกษา รวมถึงการจัดการอบรมเรื่องจริยธรรมการวิจัย และการให้ความรู้แก่นักศึกษาในขั้นตอนของการทำวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และการเผยแพร่งานวิทยานิพนธ์ ซึ่งส่งผลให้ปีการศึกษา 2566 มีนักศึกษาสำเร็จการศึกษาจำนวน 5 คนซึ่งมีงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและการเผยแพร่ผลงานวิจัยอยู่ในระดับนานาชาติที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติและการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 
2. หลักสูตรมีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาตามสัมฤทธิ์ผลกการเรียนรู้ทั้ง 6 ด้าน  และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และมีการประเมินผลเป็นระยะ


แนวทางเสริม
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการประเมินและการปรับปรุงที่จะนำมาใชในปีการศึกษาถัดไป

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตร มีกระบวนการดูแลให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ และคอยติดตามนักศึกษาเป็นระยะ ทำให้ นักศึกษาสามารถตีพิมพ์ผลงาน และ สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลา
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร เพื่อเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ ดูแล และให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ แก่นักศึกษา
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีกิจกรรมในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ในหลากหลายรูปแบบ  และมีการบูรณาการร่วมกับการจัดการเรียนการสอน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการพัฒนาศักยภาพ ส่งเสริม และให้คำปรึกษานักศึกษาสร้างผลงานวิจัย  สามารถพัฒนานักศึกษา ในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยก่อนสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 93.75
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 0.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.00
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.42
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.26
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรให้ความสำคัญต่อการจัดระบบ กลไก และการดำเนินงานในการพัฒนาบุคคล ทั้งในเรื่องของการจัดการเรียนการสอน การวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย นอกจากนี้ หลักสูตรยังได้ดำเนินการในการประชาสัมพันธ์รางวัลของการเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ซึ่งพบว่าปีการศึกษา 2566 ผลงานวิจัยของอาจารย์ได้รับการเผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติจำนวน 2 บทความ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีแผนอัตรากำลัง และแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบให้ก้าวสู่ตำแหน่งวิชาการ รวมถึงการกำกับและติดตามให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบทุกคนมีผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่เป็นประจำทุกปีการศึกษา
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 2.08
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 2
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 33.33
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 80 2.08
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 1 0 0 2
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 2.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.03 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 50.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.22
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.17
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 3.98
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

24
8
33.33
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงาน ในการสำรวจความคิดเห็นของผู้เรียน และได้มีการพิจารณาในการปรับสาระรายวิชาให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และสภาพการณ์ปัจจุบัน ได้แก่ การมีวิทยากรให้ความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาตจวิทยาฯ และการจัดสัมมนาในการให้ความรู้และประสบการณ์การทำวิจัย เป็นต้น ที่เป็นส่วนหนึ่งของสาระรายวิชา 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงาน ในการสำรวจความคิดเห็นของผู้เรียน และได้มีการพิจารณาในการปรับสาระรายวิชาให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และสภาพการณ์ปัจจุบัน ได้แก่ การมีวิทยากรให้ความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาตจวิทยาฯ และการจัดสัมมนาในการให้ความรู้และประสบการณ์การทำวิจัย เป็นต้น ที่เป็นส่วนหนึ่งของสาระรายวิชา 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการสรุปผลการประเมินที่เกิดขึ้นที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน และแนวทางที่จะดำเนินการต่อไปในปีการศึกษาถัดไป ทั้งนี้ ควรกล่าวถึงการปรับปรุงหลักสูตรที่จะนำมาใช้ในปีการศึกษา 2567 ด้วย
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรมีการดำเนินการในการวางระบบ กลไก และกระบวนการ ในการกำหนดอาจารย์ผู้สอนได้ตามความเชี่ยวชาญ และตรงกับสาระของรายวิชา การกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา รวมทั้งมีการติดตามการดำเนินงานของรายวิชาตาม มคอ.3 มคอ.5 มคอ.7 ได้ครบถ้วนตามกำหนดระยะเวลา การควบคุมดูแลในการให้คำปรึกษาและการให้ความช่วยเหลือแก่นักศึกษาสำหรับการทำวิจัย ทำให้พบแนวโน้มที่เป็นความสำเร็จเป็นรูปธรรมในการคงอยู่ของนักศึกษา การสำเร็จการศึกษาเป็นมหาบัณฑิตและการมีผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ที่มีคุณภาพในระดับดีมาก 
2. หลักสูตรมีระบบและกลไกในการวางระบบผู้สอน กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประเมินวัดผล มีระบบแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาและที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รวมถึงมีการกำกับ ติดตามกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้การดำเนินงานของหลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงช่วยให้นักศึกษาสามารถทำวิทยานิพนธ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และจบการศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนด

แนวทางเสริม
การจัดทำแผนการทำวิจัยและการก้าวสู่การสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดสำหรับนักศึกษาเป็นรายบุคคล เพื่อลดจำนวนนักศึกษาที่ตกค้างอยู่


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรได้ดำนินการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของ นักศึกษา การกำกับการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) และการประเมินวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา  โดยที่ในปีการศึกษา 2566 มีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โดยเฉพาะหลักฐานที่ชัดเจนในความสำเร็จของผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่อย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก
2. หลักสูตรมีการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และ มีเกณฑ์การประเมินวิทยานิพนธ์ ที่ชัดเจน 


แนวทางเสริม
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานแสดงแนวโน้มของความมีคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน รวมถึงความชัดเจนในผลที่เกิดขึ้นจากการทวนสอบเมื่อเทียบกับความคาดหวังที่หลักสูตรกำหนด

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร = 4.26 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา  = 4.44
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน = 3.81
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงานที่ได้รับการมีส่วนร่วมจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มหาวิทยาลัยรังสิตและสถาบันโรคผิวหนังในการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกและสิ่งเอื้อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ได้แก่ การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับการเรียนการสอนทั้งในคลีนิคและห้องปฏิบัติการ สำหรับการใช้งานของนักศึกษา รวมทั้งยังได้รับความอนุเคราะห์จากสำนักหอสมุดของมหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันโรคผิวหนังและโรงพยาบาลอื่น ในการเป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้สำหรับการทำวิจัยของงานวิทยานิพนธ์ เป็นต้น นอกจากนี้ หลักสูตรยังมีการประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้ออนไลน์แก่นักศึกษาด้วย ซึ่งส่งผลให้ผลการประเมินความพึงพอใจของทั้งนักศึกษาและอาจารย์อยู่ในระดับคะแนนที่มากกว่า 3.51 เป็นเวลาสามปีต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เพิ่มหลักฐานผลการสำรวจความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบสิ่งอำนวยความสะดวกและสิ่งเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินการที่ครบถ้วนในการรับสมัครและคัดเลือกนักศึกษาที่สอดคล้องกับข้อกำหนดของหลักสูตร ซึ่งส่งผลให้นักศึกษาเข้าใหม่ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตร เช่น ความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษ ความสามารถในความรูัทางแพทยศาสตร์ เป็นต้น >>> แนวทางเสริม หลักสูตรได้รับความสนใจจากภายนอกในการเข้าศึกษา แต่เนื่องจากหลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาที่ยังคงค้างอยู่ทำให้เกิดปัญหาในสัดส่วนของภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หลักสูตรจึงควรเพิ่มความชัดเจนในแผนการรับนักศึกษาควบคู่กับแผนการเตรียมความพร้อมในเรื่องการทำวิทยานิพนธ์
  2. หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงานในการจัดหลากหลายกิจกรรมเพื่อการเตรียมความพร้อมของนักศึกษา โดยเริ่มจากการทราบศักยภาพพื้นฐานการทำวิจัยของนักศึกษาเข้าใหม่ในระหว่างการสัมภาษณ์เพื่อการรับเข้าศึกษา แต่ควรมีการทบทวนประเด็นเป้าหมายที่ต้องการและยังไม่สำเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่ ระยะเวลาของการจบการศึกษาตามที่กำหนดในหลักสูตร เป็นต้น เพื่อนำไปสู่การเตรียมความพร้อมในปัจจัยที่เกี่ยวข้องแก่ผู้เข้าเรียน
  3. หลักสูตรมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนในลักษณะของ PDCA ในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ในหลายด้านโดยเฉพาะการเพิ่มศักยภาพการทำวิจัยของนักศึกษา รวมถึงการจัดการอบรมเรื่องจริยธรรมการวิจัย และการให้ความรู้แก่นักศึกษาในขั้นตอนของการทำวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และการเผยแพร่งานวิทยานิพนธ์ ซึ่งส่งผลให้ปีการศึกษา 2566 มีนักศึกษาสำเร็จการศึกษาจำนวน 5 คนซึ่งมีงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและการเผยแพร่ผลงานวิจัยอยู่ในระดับนานาชาติที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติและการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ >>> แนวทางเสริม หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการประเมินและการปรับปรุงที่จะนำมาใชในปีการศึกษาถัดไป
  4. หลักสูตรให้ความสำคัญต่อการจัดระบบ กลไก และการดำเนินงานในการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ทั้งในเรื่องของการจัดการเรียนการสอน การวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย นอกจากนี้ หลักสูตรยังได้ดำเนินการในการประชาสัมพันธ์รางวัลของการเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ซึ่งพบว่าปีการศึกษา 2566 ผลงานวิจัยของอาจารย์ได้รับการเผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติจำนวน 2 บทความ
  5. หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงาน ในการสำรวจความคิดเห็นของผู้เรียน และได้มีการพิจารณาในการปรับสาระรายวิชาให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และสภาพการณ์ปัจจุบัน ได้แก่ การมีวิทยากรให้ความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาตจวิทยาฯ และการจัดสัมมนาในการให้ความรู้และประสบการณ์การทำวิจัย เป็นต้น ที่เป็นส่วนหนึ่งของสาระรายวิชา
  6. หลักสูตรมีการดำเนินการในการวางระบบ กลไก และกระบวนการ ในการกำหนดอาจารย์ผู้สอนได้ตามความเชี่ยวชาญ และตรงกับสาระของรายวิชา การกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา รวมทั้งมีการติดตามการดำเนินงานของรายวิชาตาม มคอ.3 มคอ.5 มคอ.7 ได้ครบถ้วนตามกำหนดระยะเวลา การควบคุมดูแลในการให้คำปรึกษาและการให้ความช่วยเหลือแก่นักศึกษาสำหรับการทำวิจัย ทำให้พบแนวโน้มที่เป็นความสำเร็จเป็นรูปธรรมในการคงอยู่ของนักศึกษา การสำเร็จการศึกษาเป็นมหาบัณฑิตและการมีผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ที่มีคุณภาพในระดับดีมาก >>> แนวทางเสริม หลักสูตรควรมีการจัดทำแผนการทำวิจัยและการก้าวสู่การสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดสำหรับนักศึกษาเป็นรายบุคคล เพื่อลดจำนวนนักศึกษาที่ตกค้างอยู่
  7. หลักสูตรได้ดำนินการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของ นักศึกษา การกำกับการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) และการประเมินวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา โดยที่ในปีการศึกษา 2566 มีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โดยเฉพาะหลักฐานที่ชัดเจนในความสำเร็จของผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่อย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก >>> แนวทางเสริม หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานแสดงแนวโน้มของความมีคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน รวมถึงความชัดเจนในผลที่เกิดขึ้นจากการทวนสอบเมื่อเทียบกับความคาดหวังที่หลักสูตรกำหนด
  8. หลักสูตรมีระบบ กลไก และการดำเนินงานที่ได้รับการมีส่วนร่วมจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มหาวิทยาลัยรังสิตและสถาบันโรคผิวหนังในการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกและสิ่งเอื้อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ได้แก่ การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับการเรียนการสอนทั้งในคลีนิคและห้องปฏิบัติการ สำหรับการใช้งานของนักศึกษา รวมทั้งยังได้รับความอนุเคราะห์จากสำนักหอสมุดของมหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันโรคผิวหนังและโรงพยาบาลอื่น ในการเป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้สำหรับการทำวิจัยของงานวิทยานิพนธ์ เป็นต้น นอกจากนี้ หลักสูตรยังมีการประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้ออนไลน์แก่นักศึกษาด้วย ซึ่งส่งผลให้ผลการประเมินความพึงพอใจของทั้งนักศึกษาและอาจารย์อยู่ในระดับคะแนนที่มากกว่า 3.51 เป็นเวลาสามปีต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจากการเตรียมความพร้อม การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา โดยมีการทบทวนประเด็นเป้าหมายที่ต้องการและประเด็นที่ยังไม่สำเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่ ระยะเวลาของการสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดเป็นต้น เพื่อนำไปสู่การเตรียมความพร้อมในปัจจัยที่เกี่ยวข้องแก่ผู้เข้าเรียน
  2. หลักสูตรควรมีแผนอัตรากำลัง และแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบให้ก้าวสู่ตำแหน่งวิชาการ รวมถึงการกำกับและติดตามให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบทุกคนมีผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่เป็นประจำทุกปีการศึกษา
  3. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนสำหรับการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาในเรื่องการสรุปผลการประเมินที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน และแนวทางที่จะดำเนินการต่อไปในปีการศึกษาถัดไป ทั้งนี้ ควรกล่าวถึงการปรับปรุงหลักสูตรที่จะนำมาใช้ในปีการศึกษา 2567 ด้วย

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 N/A
2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์และหรือเผยแพร่ 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.03
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 2.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [12 ตัวบ่งชี้] 3.75

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 1 - - 5.00 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.01 - - 3.01 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.29 4.25 5.00 3.75 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก