รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฏีบัณฑิต

วันที่ประเมิน: 25 กรกฏาคม 2567, 10:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ตารางแนวนอน เพิ่มจำนวน อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก....คน และการค้นคว้าอิสระ....คน** ของทุกท่าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ควรแนบเอกสาร สมอ.08 แทน
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
ไม่มีชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร 3 ท่านใน อาจารย์ประจำหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ไม่มีชื่อ ผศ.ดร.พัฒน์ ในตารางแนวนอน
มี รศ.ดร. ชลธิศ ดาราวงษ์ และ ดร. ภูริพัฒน์  ชาญกิจ ในตารางแนวนอน แต่ไม่มีในตารางรายงานผลการดำเนินงาน (หน้า 29)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 5 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แบบ 1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. อย่างน้อย 2 เรื่อง
แบบ 2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ควรระบุแหล่งที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 1 4.80
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 1
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.80
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 2 1
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 2.60 5.00
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 260.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 80 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- RQF.7 หน้า 115 ตัวบ่งชี้ 2.2 ผลงานของนักศึกษา แพรลฎา ระบุค่าน้ำหนัก 0.08 ปรับเป็น 0.80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่พบ  บธ.ด.2.2.01  เอกสารการเผยแพร่ผลงานของนักศึกษา ในระบบ DBS (ระบุไว้ใน RQF.7) แต่ในระบบ DBS จะมี บธด.1.1.05 ผลงานวิชาการของผู้สำเร็จการศึกษา (1) บธด.1.1.05 ผลงานวิชาการของผู้สำเร็จการศึกษา (2) ปรับให้ตรงกัน
 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.90 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
>>> แนวทางการดำเนินการ
1. ต้องรายงานระบบและกลไกให้ชัดเจน และได้ดำเนินการตามระบบและกลไกอย่างไร มีการทบทวนการประเมินกระบวนการที่ได้ดำเนินแล้วนำไปสู่ผลการดำเนินงานอย่างไรพบข้อดี – ข้อเสียที่จะต้องนำมาปรับปรุงเช่นไร ปรับปรุงกระบวนการแล้วผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร (ผลลัพธ์ไม่จำเป็นว่าต้องดีขึ้นก็ได้) (เพื่อ 3.00 คะแนน)

2. การรายงาน “การประเมินกระบวนการ” ควรนำร่องรอยของปัญหา/สาเหตุที่เกิดจากปีที่ผ่านมา นำมาขยายความในการทบทวนการดำเนินงานในปีการศึกษา 2566 เพื่อแสดงให้เห็นว่าได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ และส่งผลอย่างไรจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว

3. และจะเห็นผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต้องดำเนินการอย่างน้อย 3 รอบ (ตามวงจรPDCA) เพื่อให้เห็นถึงความต่อเนื่องของระบบและกลไกที่ได้ดำเนินการและมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (เพื่อ 4.00 คะแนน)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป้าหมาย

1. เชิงปริมาณ มีจำนวนรับนักศึกษาใหม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด (มาจาก RQF2 หรือตามเป้าหมาย ที่มหาวิทยาลัยกำหนด)

2. เชิงคุณภาพ มีการตรวจสอบนักศึกษาใหม่มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่หลักสูตรกำหนด

ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. จำนวนนักศึกษาใหม่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของเป้าหมายการรับนักศึกษา

2. มีการกำหนดคุณสมบัติที่จะใช้รับนักศึกษาใหม่ไว้ชัดเจน
3. มีการตรวจสอบค่าร้อยละของนักศึกษาใหม่ที่มีคุณสมบัติครบถ้วน เพื่อส่งนักศึกษาที่ยังมีคุณสมบัติที่พร่องบางด้านสู่กระบวนการเตรียมความพร้อม (เช่น ร้อยละเท่าไหร่มีความรู้พื้นฐาน เป็นต้น)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป้าหมาย
นักศึกษาใหม่มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่หลักสูตรกำหนด มีความพร้อมทางปัญญา สุขภาพกายและจิต มีความมุ่งมั่นที่จะเรียน


ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. มีโครงการ/กิจกรรมการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ และวัดความสำเร็จ
2. จำนวนนักศึกษาใหม่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความพร้อมตามคุณสมบัติที่หลักสูตรกำหนด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
>>> แนวทางการรายงานผลการดำเนินการ
1. ต้องรายงานระบบและกลไกให้ชัดเจน และได้ดำเนินการตามระบบและกลไกอย่างไร มีการทบทวนการประเมินกระบวนการที่ได้ดำเนินแล้วนำไปสู่ผลการดำเนินงานอย่างไรพบข้อดี – ข้อเสียที่จะต้องนำมาปรับปรุงเช่นไร ปรับปรุงกระบวนการแล้วผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร (ผลลัพธ์ไม่จำเป็นว่าต้องดีขึ้นก็ได้) (เพื่อ 3.00 คะแนน)

2. การรายงาน “การประเมินกระบวนการ” ควรนำร่องรอยของปัญหา/สาเหตุที่เกิดจากปีที่ผ่านมา นำมาขยายความในการทบทวนการดำเนินงานในปีการศึกษา 2566 เพื่อแสดงให้เห็นว่าได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ และส่งผลอย่างไรจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว

3. และจะเห็นผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต้องดำเนินการอย่างน้อย 3 รอบ (ตามวงจรPDCA) เพื่อให้เห็นถึงความต่อเนื่องของระบบและกลไกที่ได้ดำเนินการและมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (
เพื่อ 4.00 คะแนน)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป้าหมาย
นักศึกษาได้รับการดูแลภายใต้ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นอย่างดี


ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. อาจารย์ที่ปรึกษาสรุปผลการดำเนินงานเสนอ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (เช่น ร้อยละของนักศึกษาที่มาเข้าพบเพื่อปรึกษาการลงทะเบียนเรียน การให้คำปรึกษา เป็นต้น)
2. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อระบบอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละท่านอยู่ในระดับดีขึ้นไป (มากกว่า 3.51) หากมีการ Feedback ที่ตัวบุคคลก็แก้ไขปัญหาที่บุคคล หาก Feedback ที่ระบบ ก็แก้ไขปัญหาที่ระบบ เป็นการปรับปรุงกระบวนการในทุกมิติ จึงส่งผลให้อัตราคงอยู่ อัตราการสำเร็จการศึกษา ค่าความพึงพอใจมีแนวโน้มดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เปลี่ยนปีการศึกษา 2565 เป็น 2566 หน้า 147 149
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป้าหมาย
นักกศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ (การรายงานเช่น หลักสูตรมีเป้าหมายที่จะทำให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถในด้านต่างๆ โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จ ได้แก่.....)


ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. หลักสูตรมีแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ ให้กับนักศึกษาทั้งที่ดำเนินการเอง และเข้าร่วมกับคณะวิชา ไม่น้อยกว่า…..กิจกรรมต่อปี
2. ประเมินความสำเร็จระดับกิจกรรม และภาพรวม ถึงร้อยละนักศึกษาที่เข้าร่วมและได้รับการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ (แนวทางการรายงาน คือ ในแผนพัฒนาทักษะแต่ละปีจะประกอบด้วยทักษะกี่ด้านที่หลักสูตรให้ความสำคัญ ทักษะด้านที่ 1 จะประกอบด้วยกี่กิจกรรม ทักษะด้านที่ 2 ประกอบด้วยกี่กิจกรรม ทักษะด้านที่ 3 ประกอบด้วยกี่กิจกรรม (เช่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) โดยกิจกรรมนั้นอาจเป็นกิจกรรมที่หลักสูตรจัดขึ้นเองหรือไปเข้าร่วมก็ได้ สำหรับการประเมินผลการดำเนินงานจะมี 2 ระดับคือ 1. ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม และ 2. ร้อยละของนักศึกษาที่บรรลุเป้าหมายของการพัฒนารายทักษะ เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การพัฒนา/การสร้างเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ไม่เห็นแนวทางแก้ไขปรับปรุงที่ชัดเจน 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มีการพัฒนาส่งเสริมนักศึกษาให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2550 เป็นหลักสูตร 3 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2552)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 75.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 33.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 0.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.62
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.70
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.71
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
>>> แนวทางการรายงานผลการดำเนินการ
1. ต้องรายงานระบบและกลไกให้ชัดเจน และได้ดำเนินการตามระบบและกลไกอย่างไร มีการทบทวนการประเมินกระบวนการที่ได้ดำเนินแล้วนำไปสู่ผลการดำเนินงานอย่างไรพบข้อดี – ข้อเสียที่จะต้องนำมาปรับปรุงเช่นไร ปรับปรุงกระบวนการแล้วผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร (ผลลัพธ์ไม่จำเป็นว่าต้องดีขึ้นก็ได้) (เพื่อ 3.00 คะแนน)

2. การรายงาน “การประเมินกระบวนการ” ควรนำร่องรอยของปัญหา/สาเหตุที่เกิดจากปีที่ผ่านมา นำมาขยายความในการทบทวนการดำเนินงานในปีการศึกษา 2566 เพื่อแสดงให้เห็นว่าได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ และส่งผลอย่างไรจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว

3. และจะเห็นผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต้องดำเนินการอย่างน้อย 3 รอบ (ตามวงจรPDCA) เพื่อให้เห็นถึงความต่อเนื่องของระบบและกลไกที่ได้ดำเนินการและมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (เพื่อ 4.00 คะแนน)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป้าหมาย
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีจำนวนและคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนด

ตัวชี้วัดความสำเร็จ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีจำนวน มีคุณวุฒิ ตำแหน่งวิชาการ ผลงานวิชาการ ประสบการณ์ตรงตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป้าหมาย 
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีความสำเร็จในการบริหารหลักสูตร


ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. 
มีการกำหนดหน้าที่การบริหารหลักสูตรของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
2. มีระดับความพึงพอใจของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตรไม่น้อยกว่า 4.01 เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
กระบวนการในการพัฒนา/ปรับปรุง และผลจากการปรับปรุงยังไม่ชัดเจน
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป้าหมาย
มีระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้มีความก้าวหน้าตามมาตรฐานวิชาการ วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง


ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. 
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับการพัฒนาอย่างน้อย … ครั้งทางด้าน….
2. มีแผนพัฒนาผลงานวิชาการและผลการดำเนินงานตามแผน
3. มีแผนพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการและผลการดำเนินงานตามแผน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผลงานวิจัยของอาจารย์ปี 2566 คะแนนรวมต่ำกว่าปี 2565
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 2
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 33.33
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 100 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ข้อมูลที่คำนวณมาไม่ถูกต้อง ค่าร้อยละของอาจารย์ดำรงตำแหน่งทางวิชาการของหลักสูตรระดับปริญญาเอก ร้อยละ100 เท่ากับ 5 คะแนนเต็ม

- RQF.7 หน้า 137 ข้อ 7 เทียบคะแนนเต็ม 5 ปรับสูตร จาก /80 เป็น /100 ได้คะแนนเทียบเต็ม 5 จาก 2.08 เป็น 1.67 (ต้องเลือกใช้ Template เป็นระดับปริญญาเอก)
 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 7 0 7 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 186.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.4 จำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนยืนยัน
[ฐานข้อมูล]
ผลการประเมิน
กรรมการ
TCI SCOPUS
[1] จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง 0 0 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร [1] / [2] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] x 5 / 0.25 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มีการรายงาน
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา
  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 2.5 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 3.0 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 0.25 ขึ้นไป
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
บธด. 4.2.01 รายงานผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 ควรแนบผลงานจริง 
บธด. 4.2.02 บทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI ไม่พบในระบบ DBS และไม่มีรายงานการข้อมูลอ้างอิงใน RQF.7 ควรตัดออก?
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.92 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 5.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นทุกเรื่อง

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

7
7
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
>>> แนวทางการรายงานผลการดำเนินการ
1. ต้องรายงานระบบและกลไกให้ชัดเจน และได้ดำเนินการตามระบบและกลไกอย่างไร มีการทบทวนการประเมินกระบวนการที่ได้ดำเนินแล้วนำไปสู่ผลการดำเนินงานอย่างไรพบข้อดี – ข้อเสียที่จะต้องนำมาปรับปรุงเช่นไร ปรับปรุงกระบวนการแล้วผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร (ผลลัพธ์ไม่จำเป็นว่าต้องดีขึ้นก็ได้) (เพื่อ 3.00 คะแนน)

2. การรายงาน “การประเมินกระบวนการ” ควรนำร่องรอยของปัญหา/สาเหตุที่เกิดจากปีที่ผ่านมา นำมาขยายความในการทบทวนการดำเนินงานในปีการศึกษา 2566 เพื่อแสดงให้เห็นว่าได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ และส่งผลอย่างไรจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว

3. และจะเห็นผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต้องดำเนินการอย่างน้อย 3 รอบ (ตามวงจรPDCA) เพื่อให้เห็นถึงความต่อเนื่องของระบบและกลไกที่ได้ดำเนินการและมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 
(เพื่อ 4.00 คะแนน)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
 - อธิบายหลักคิดในการออกแบบหลักสูตรและรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
- ควรมีการทบทวนที่มาของหลักสูตร เพื่ปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป เช่นการปรับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร  ตลอดจนการปรับเนื้อหารายวิชาในหลักสูตรให้ทันสมัย เข้ากับสภาพความต้องการของประเทศในปัจจุบัน  ซึ่งจะมีการประเมินผลต่อไปเพื่อดูว่าการปรับปรุงนั้น สามารถตอบเจตนารมณ์ของวัตถุประสงค์ในหลักสูตร (อธิบายวิวัฒนาการ ปรับปรุงหลักสูตร)
- ควรเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะของนักศึกษาเป็นสําคัญ โดยหลักสูตรได้มีการปรับเปลี่ยนอะไรไปบ้างเพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะเหล่านั้น

 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
>>> แนวทางการรายงานผลการดำเนินการ
1. ต้องรายงานระบบและกลไกให้ชัดเจน และได้ดำเนินการตามระบบและกลไกอย่างไร มีการทบทวนการประเมินกระบวนการที่ได้ดำเนินแล้วนำไปสู่ผลการดำเนินงานอย่างไรพบข้อดี – ข้อเสียที่จะต้องนำมาปรับปรุงเช่นไร ปรับปรุงกระบวนการแล้วผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร (ผลลัพธ์ไม่จำเป็นว่าต้องดีขึ้นก็ได้) (เพื่อ 3.00 คะแนน)

2. การรายงาน “การประเมินกระบวนการ” ควรนำร่องรอยของปัญหา/สาเหตุที่เกิดจากปีที่ผ่านมา นำมาขยายความในการทบทวนการดำเนินงานในปีการศึกษา 2566 เพื่อแสดงให้เห็นว่าได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ และส่งผลอย่างไรจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว

3. และจะเห็นผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต้องดำเนินการอย่างน้อย 3 รอบ (ตามวงจรPDCA) เพื่อให้เห็นถึงความต่อเนื่องของระบบและกลไกที่ได้ดำเนินการและมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 
(เพื่อ 4.00 คะแนน)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- กำหนดคุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์สอน ผลงานวิชาการ และการบริการวิชาการ เป็นต้น

-ระบบ กลไก คืออะไร  ประเมินวิธีการกําหนดผู้สอนว่ามีประสิทธิภาพหรือไม่
(ไม่ใช่ประเมินผู้สอน) และปรับปรุงหรือพัฒนา อะไรบ้าง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-ต้องมีความสอดคล้องกับ (1) ความเชี่ยวชาญของสถาบันและอาจารย์ที่ปรึกษา (2) รองรับการพัฒนาประเทศ (3) ประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอกฯ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
 -ต้องมีความสอดคล้องกับ (1) ความเชี่ยวชาญของสถาบันและอาจารย์ที่ปรึกษา (2) รองรับการพัฒนาประเทศ (3) ประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอกฯ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
 -ต้องมีความสอดคล้องกับ (1) ความเชี่ยวชาญของสถาบันและอาจารย์ที่ปรึกษา (2) รองรับการพัฒนาประเทศ (3) ประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอกฯ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบกำกับติดตามความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์ฯ เพื่อให้สามารถ นศ.สำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อ ภาคการศึกษา มีการชี้แนะแหล่งทุนวิจัย และมีการสร้างเครือข่ายระหว่างสถาบัน เพื่อให้มี Visiting Professors มาสอนหรือให้ประสบการณ์แก่ นศ. ตลอดจนการส่ง นศ.ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างประเทศ)

- ระบบและกลไกนั้น ทําอย่างไร มีประสิทธิภาพหรือไม่ เช่น ถ้ามีระบบและกลไกที่ดี นักศึกษาต้องสามารถจบการศึกษาได้ตามระยะเวลา หรือมีผลงานตีพิมพ์ที่ดีขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
>>> แนวทางการรายงานผลการดำเนินการ
1. ต้องรายงานระบบและกลไกให้ชัดเจน และได้ดำเนินการตามระบบและกลไกอย่างไร มีการทบทวนการประเมินกระบวนการที่ได้ดำเนินแล้วนำไปสู่ผลการดำเนินงานอย่างไรพบข้อดี – ข้อเสียที่จะต้องนำมาปรับปรุงเช่นไร ปรับปรุงกระบวนการแล้วผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร (ผลลัพธ์ไม่จำเป็นว่าต้องดีขึ้นก็ได้) (เพื่อ 3.00 คะแนน)

2. การรายงาน “การประเมินกระบวนการ” ควรนำร่องรอยของปัญหา/สาเหตุที่เกิดจากปีที่ผ่านมา นำมาขยายความในการทบทวนการดำเนินงานในปีการศึกษา 2566 เพื่อแสดงให้เห็นว่าได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ และส่งผลอย่างไรจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว

3. และจะเห็นผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต้องดำเนินการอย่างน้อย 3 รอบ (ตามวงจรPDCA) เพื่อให้เห็นถึงความต่อเนื่องของระบบและกลไกที่ได้ดำเนินการและมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (เพื่อ 4.00 คะแนน)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- รายงานผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้รายวิชา สอดคล้องและครอบคลุมผลการเรียนรู้ของหลักสูตรที่สอดคล้องตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF 5) และผลลัพธ์ผู้เรียน (DOE 3)
- และทําอย่างไร  และมีวิธีตรวจสอบการ ประเมินผลการเรียนรู้อย่างไร  กําหนดหลักเกณฑ์วิธีการประเมินแต่ละด้านจะวัดอย่างไร และมีแนวทางอย่างไร  ได้ปรับปรุงเกณฑ์การวัดนั้นหรือไม่
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- เครื่องมือประเมินสะท้อนความสามารถในการปฏิบัติงานได้จริง สามารถวัดความรู้และทักษะได้ มีความหลากหลาย เช่น ข้อสอบ การบ้าน รายงาน การสอนปากเปล่า การสังเกตพฤติกรรม และการวัดทักษะปฏิบัติ เป็นต้น โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการของหลักสูตร
 

- การวัดผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจะมีหลายระดับ เช่น การทวนสอบเชิงกระบวนการ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา (แยกกันระหว่างโดยอาจารย์ผู้สอนใน RQF.5 (ข้อที่ 7) และ โดยกรรมการทวนสอบฯ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนในปีการศึกษานั้น) และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์หลักสูตร

- การทวนสอบเชิงกระบวนการคือ หลักสูตรมีการนำ Program Learning Outcome ถ่ายทอดผ่าน Curriculum Mapping กระจายไปสู่รายวิชาอย่างครบถ้วน มีการจัดแผนการเรียนการสอน RQF.3 ให้ครอบคลุมตามจุดดำจุดขาว

- การทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา โดยกรรมการทวนสอบฯ จะดูจาก RQF.5 มีการรายงานไว้ชัดเจนหรือไม่ว่า จุดดำที่อาจารย์รับผิดชอบในรายวิชานั้นไปแทรกอยู่ในเนื้อหาการเรียนการสอนในชั่วโมงใด วันไหน แล้วมีวิธีการวัดสัมฤทธิผลอย่างไร ได้ร้อยละเท่าไหร่ในแต่ละความรู้/ คุณธรรม จริยธรรม/ ทักษะ/ คุณลักษณะ ที่บรรลุตามเป้าหมาย

ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลการประเมินมีคุณภาพ สะท้อนความคิดริเริ่ม ทันสมัย มีการออกแบบการวิจัยที่เหมาะสม เป็นตัวอย่างของผลงานที่มีคุณภาพ มีการเผยแพร่ในวารสารที่เป็นที่ยอมรับ ในสาขาวิชาชีพ
- มีหลักเกณฑ์อย่างไร ในการที่จะตัดสินวิทยานิพนธ์ว่า ผ่านหรือไม่ผ่าน การอธิบายนี้ไม่ใช่เขียนตามข้อบังคับของบัณฑิตวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คิดเป็นร้อยละ .............
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร......... เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ......... โดยได้รับการรับทราบจาก สป.อว. เมื่อวันที่ ..............
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีการดำเนินการรายวิชาและประสบการณ์ภาคสนาม ซึ่งมีรายละเอียดตามแบบ RQF.3 และ RQF.4 โดยมีรายวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ดังนี้
1. ระบุชื่อรายวิชา
2. ระบุชื่อรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
โดยมีรายวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ดังนี้
1. ระบุชื่อรายวิชา
2. ระบุชื่อรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
และรายงานต่อคณะ/ มหาวิทยาลัย เพื่อดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร วันที่ ...............
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คิดเป็นร้อยละ..........
ระบุเพิ่ม ภาค/ ปีการศึกษา ของรายวิชานั้น ๆ ที่ทวนสอบ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่พบหลักฐาน บธด.5.1.04 รายงานการทวนสอบ
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ตามข้อเสนอแนะใน RQF.7 ของปีการศึกษา 2565 ซึ่งได้ดำเนินการเรียบร้อยเมื่อวันที่ .......................
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคน ได้มีการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ทางวิชาการ/ วิชาชีพ ดังต่อไปนี้
1. ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร+ หัวข้อการพัฒนา + วัน/เดือน/ปี
2. ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร+ หัวข้อการพัฒนา + วัน/เดือน/ปี
3. ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร+ หัวข้อการพัฒนา + วัน/เดือน/ปี
4. ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร+ หัวข้อการพัฒนา + วัน/เดือน/ปี
5. ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร+ หัวข้อการพัฒนา + วัน/เดือน/ปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรระบุจำนวนเจ้าหน้าที่ และจำนวนการอบรม

หลักสูตร ....... มีบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน จำนวน ......... คน โดยได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/ วิชาชีพ จำนวน ....... ครั้งในปีการศึกษา 2566 คิดเป็นร้อยละ .........

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ให้ระบุจำนวนวิชา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
>>> แนวทางการรายงานผลการดำเนินการ
1. ต้องรายงานระบบและกลไกให้ชัดเจน และได้ดำเนินการตามระบบและกลไกอย่างไร มีการทบทวนการประเมินกระบวนการที่ได้ดำเนินแล้วนำไปสู่ผลการดำเนินงานอย่างไรพบข้อดี – ข้อเสียที่จะต้องนำมาปรับปรุงเช่นไร ปรับปรุงกระบวนการแล้วผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร (ผลลัพธ์ไม่จำเป็นว่าต้องดีขึ้นก็ได้) (เพื่อ 3.00 คะแนน)

2. การรายงาน “การประเมินกระบวนการ” ควรนำร่องรอยของปัญหา/สาเหตุที่เกิดจากปีที่ผ่านมา นำมาขยายความในการทบทวนการดำเนินงานในปีการศึกษา 2566 เพื่อแสดงให้เห็นว่าได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ และส่งผลอย่างไรจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว

3. และจะเห็นผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต้องดำเนินการอย่างน้อย 3 รอบ (ตามวงจรPDCA) เพื่อให้เห็นถึงความต่อเนื่องของระบบและกลไกที่ได้ดำเนินการและมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 
(เพื่อ 4.00 คะแนน)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-  อธิบายการจัดสรรงบประมาณประจำปี เพื่อจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ใน การฝึกปฏิบัติ ทุกภาคการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-   อธิบายการให้บริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา อย่าง น้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย หนังสือ ด้านการบริหารจัดการและด้านอื่นๆ รวมถึงฐานข้อมูลที่จะให้สืบค้น ส่วนระดับคณะมีหนังสือ ตาราเฉพาะทาง ที่เป็นหนังสือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ นอกจากนี้มีอุปกรณ์ที่ใช้สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอย่าง พอเพียง  
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อธิบายผลการประเมินคุณภาพที่พร้อมใช้งานและปริมาณที่เพียงพอหรือไม่ ได้แก่ ความพร้อมทาง กายภาพ เช่น ห้องเรียนห้องปฏิบัติการ ที่พักของนักศึกษา  ความพร้อมของอุปกรณ์ เทคโนโลยี และสิ่งอำนวย ความสะดวกหรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด ตำรา หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ สื่ออิเล็คทรอนิกส์  โดยให้ระบุการนำผลการประเมินคุณภาพ มาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง/พัฒนาเพื่อสนองความต้องการของนักศึกษาและอาจารย์ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรหาแนวทางในให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามกำหนดเวลา
  2. ควรมีมาตรการที่ชัดเจนที่ช่วยให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด
  3. ควรมีการติดตามหรือหาแนวทางให้ผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI หรือ SCOPUS

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.80
2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.92
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.52

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.90 4.90 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.31 - - 3.31 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.13 3.50 4.90 3.52 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก