รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ

วันที่ประเมิน: 9 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 30 4.53
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 12
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.53
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 30 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 27
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 20
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 5
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.77 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรกำหนดตั้งค่าเป้าหมายรับนักศึกษาใหม่ จำนวนไม่เกิน 60 คน (ปีการศึกษา  2566  มีจำนวนนักศึกษา   24  คน)
- หลักสูตรฯ ได้สำรวจความพึงพอใจนักศึกษาใหม่ต่อการรับนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 มีนักศึกษาเข้าร่วม จำนวน 24 คน ในประเด็นช่องทางในการรับนักศึกษา ขั้นตอนในการรับนักศึกษา การแนะนำเกี่ยวกับหลักสูตร การแนะนำเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การแนะนำเกี่ยวกับทุนการศึกษาต่างๆ ได้ค่าความพึงพอใจ 4.68
- หลักสูตรฯ ได้นำผลมาทบทวนเพื่อปรับปรุงจึงเห็นได้ว่าในปีการศึกษา 2566 มีจำนวนนักศึกษาใหม่ที่สมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรฯเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปีการศึกษาที่ผ่านมาแต่ยังไม่ได้ตามค่าเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ดังนั้น ในปีการศึกษา 2567 หลักสูตรฯควรดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้บุคคลภายนอกมีความเข้าใจชื่อหลักสูตรฯ รายวิชาใหม่ที่หลักสูตรปรับปรุงเปิดสอนให้เกิดการรับรู้สู่ภายนอกเพิ่มขึ้นโดยผ่านกิจกรรม การเรียนการสอน และกิจกรรมโครงการต่างๆของหลักสูตรฯ


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

-  จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่เรียนต่อชั้นปีที่ 2 เฉลี่ย 77.80 ยังสามารถหามาตราการรักษาอัตราการคงอยู่ได้อีก
-  เพิ่มกิจกรรมที่สานความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์ 

 

การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 ผลจากกิจกรรมการเตรียมความพร้อมของหลักสูตร ทำให้นักศึกษาใหม่รู้จักทักษะที่มีความจำเป็นในวิชาชีพ และเข้าใจหลักสูตรมากขึ้น จากการได้เห็นงานตัวอย่างในวิชาต่างๆทำให้ มีความเข้าใจในการเริ่มเรียนวิชาของหลักสูตรมากขึ้น อีกทั้งนักศึกษายังได้รู้จักรุ่นพี่ และอาจารย์ในหลักสูตรฯมากขึ้น       
  1. ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ ได้ดำเนินการประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาใหม่ติวศิลป์ จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วม คิดเป็นร้อยละ 98.75 บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯที่ได้รับประโยชน์จากโครงการอยู่ในระดับดีหรือมากขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 100 ค่าความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมในด้านต่าง ๆ 4.40
  2. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา โดยฝ่ายกิจการนักศึกษาวิทยาลัยฯฯ และฝ่ายกิจการนักศึกษาหลักสูตรฯ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2566 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 101.36 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับประโยชน์จากโครงการอยู่ในระดับดีหรือมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 95.51 มีค่าความพึงพอใจ 4.15 อยู่ในระดับดี
  3.  โครงการ Soreal Workshop จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8  มีนาคม 2567 โดยหลักสูตรฯ จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 101.36 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับประโยชน์จากโครงการอยู่ในระดับดีหรือมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 95.51 มีค่าความพึงพอใจ 4.15 อยู่ในระดับดี
  4.  โครงการ Nursery Workshop Trips and Outing  จัดขึ้นเมื่อวันที่ เมื่อวันที่ 6-8  เมษายน 2567 ณ รุ่งนภาลอด์จ ตำบล ชากพง อำเภอ แกลง  จังหวัดระยอง สตูดิโอสาขาฯ  มีผู้เข้าร่วมโครงการได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่1  จำนวน 20 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 20 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 9 คน และอาจารย์ประจำ สาขาฯ 6 คน และศิษย์เก่า 5 คน  รวมนักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้น 49 คน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ คิดเป็นร้อยละ 98 บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ ร้อยละ 80 จำนวนผู้ได้รับประโยชน์อยู่ในระดับดีหรือมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 70.13 บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้จากที่ตั้งเป้าหมายไว้ร้อยละ 50  จำนวนผู้ตอบแบบประเมิน คิดเป็นร้อยละ 89.80 บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย ค่าความพึงพอใจ 3.82
  5. ระดับคะแนนผลกาเรียนรายวิชาทักษะพื้นฐานก ภาคการศึกษาที่ 1/2566 นักศึกษาชั้นปีที่ 1  มีระดับค่าคะแนนเฉลี่ยผลการเรียน GPA.Class  วิชา PHO 130 การถ่ายภาพภาพเบื้องต้น  ค่าเฉลี่ย 3.23 อยู่ในระดับดี เมื่อได้เข้าร่วมโครงการฯข้างต้นภาคการศึกษาที่ 2/2566 วิชา PHO 140 สื่อทัศนาภาพเบื้องต้น มีค่าระดับ 3.25  แสดงถึงผลการเรียนที่ดีขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ปีการศึกษา 2566 ผลจากกิจกรรมการเตรียมความพร้อมของหลักสูตร ทำให้นักศึกษาใหม่รู้จักทักษะที่มีความจำเป็นในวิชาชีพ และเข้าใจหลักสูตรมากขึ้นส่งผลนักศึกษาในปีการศึกษา 2564-2566 มีอัตราการคงอยู่ที่ดีขึ้นตามลำดับ และในปี 2566 มีอัตราการคงอยู่ ร้อยละ 91.67 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ร้อยละ 90 เนื่องจากระบบการดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาฯ ชั้นปีที่ 1-2 ดังนี้
- นักศึกษารหัส 2564 จำนวน 17 คน ออกระหว่างเรียนจนสิ้นปีการศึกษา 2566 จำนวน 5 คน
คงอยู่สิ้นปีการศึกษา 256 จำนวน 12 คน มีอัตราการคงอยู่ คิดเป็นร้อยละ 70.59
- นักศึกษารหัส 2565 จำนวน 26 คน ออกระหว่างเรียนจนสิ้นปีการศึกษา 2566 จำนวน 3 คน
คงอยู่สิ้นปีการศึกษา 2566 จำนวน 23 คน มีอัตราการคงอยู่ คิดเป็นร้อยละ 88.46
- นักศึกษารหัส 2566 จำนวน 24 คน ออกระหว่างเรียนจนสิ้นปีการศึกษา 2566 จำนวน 2 คน
คงอยู่สิ้นปีการศึกษา 2566 จำนวน 22 คน มีอัตราการคงอยู่ คิดเป็นร้อยละ 91.67

   ในอนาคตอันใกล้เมื่อแนวโน้มตามตัวบ่งชี้ 3.3 อยู่ในระดับดีมากด้วย หลักสูตรสามารถพิจารณาการจัดการความรู้เพื่อโอกาสการเป็น good practice ในระบบ RKMS ต่อไป

- เพิ่มโครงการต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมให้ยอดรับนักศึกษาใหม่เพิ่มขึ้นโดยการประชาสัมพันธ์ และแนะแนวการศึกษาควรทำในเชิงรุก    โดยตัวชี้วัดผลลัพท์ไม่ใช่จำนวนครั้งที่ทำ แต่ควรเป็นจำนวนยอดที่ได้นักศึกษาเพิ่มในแต่โครงการที่เกิด   
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
 -

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปี 2566 หลักสูตรฯ ได้ทำการประเมินค่าความพึงพอใจนักศึกษาประเมินอาจารย์ที่ปรึกษา ได้คะแนน 4.52 ส่งผลให้ค่าความพึงพอใจมีแนวโน้มดี ดังนี้
ปีการศึกษา 2564 การให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนว 4.32
ปีการศึกษา 2565 การให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนว 4.32
ปีการศึกษา 2566 การให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนว 4.52
ค่าเฉลี่ยการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนว = 4.39 อยู่ในระดับดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานผลประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีรายละเอียดการทำหน้าที่ที่ปรึกษาในแต่ละด้าน (ใน dbs มีแต่สรุปคะแนนรายบุคคล) เพื่อนำผลประเมินมาประกอบการปรับปรุงกระบวนการ
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ ยังได้ดำเนินโครงการ และกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้างนักศึกษาในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ดังนี้
  1. โครงการ Visual Symbiosis จัดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2567 ณ สาขาศิลปะภาพถ่ายฯ และพัฒนาแกลเลอรี่เพื่อส่งเสริมการพัฒนางานร่วมกัน และบริการวิชาการของอาจารย์และนักศึกษา นำสนอผลงานความคิดสร้างสรรค์สู่สาธารณชน เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรภายในและภายนอก ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์อยู่ในระดับดีหรือมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 98.03 บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ร้อยละ 60 จำนวนผู้ตอบแบบประเมิน คิดเป็นร้อยละ 82.26 บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ร้อยละ 60 มีค่าความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม 4.55 ค่าร้อยละ 91.06
  2. โครงการ Nursery Workshop Trips and Outing  การควบคุมกิจกรรมใหม่ จัดเมื่อเมื่อวันที่ 6-8 เมายน 2567 ณ อำเภอ แกลง จังหวัดระยอง มีนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เข้าร่วม จำนวน 18 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 20 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 10 คน และศิษย์เก่า อาจารย์ / บุคลากร จำนวน 4 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 49 คน ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์อยู่ในระดับดีหรือมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 70.13 บรรลุตามวัตถุประสงค์จากที่ตั้งค่าเป้าหมายไว้ ร้อยละ 50 จำนวนผู้ตอบแบบประเมิน คิดเป็นร้อยละ 89.80 บรรลุตามวัตถุประสงค์จากที่ตั้งค่าเป้าหมายไว้ ร้อยละ 60
หลักสูตรฯ ยังได้นำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้างนักศึกษาในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กับฝ่ายกิจการนักศึกษาฯ โครงการ ART AND DESIGN Diversity Showcase 2566 จัดเมื่อวันที่ 28-29 มีนาคม 2567 ณ ลานเอนกประสงค์ ชั้น 1 อาคารหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต เน้นการทำกิจกรรมของนักศึกษาวิทยาลัยการออกแบบ และการทำงานเป็นกลุ่มทั้ง 5 สาขาวิชา เป็นการนำเสนอผลงานของนักศึกษาและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกของนักศึกษาจากแนวความคิดทางด้านศิลปะและการออกแบบ กิจกรรมต่าง ๆ เป็นไปตามกรอบพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ทางด้านวิชาการ ความรู้ในสายวิชาชีพสู่การปฏิบัติงานจริงและนำไปสู่การเป็นผู้ประกอบการสำหรับอนาคตเมื่อนักศึกษาจบการศึกษาฯ มีผู้เข้าร่วมโครงการ  284 คน คิดเป็น ร้อยละ 94.66  บรรลุตามเป้าหมาจากที่ตั้งไว้ ร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์ในระดับดีหรือมากขึ้นไป จำนวน 222 คน คิดเป็นร้อยละ 82.83 บรรลุตามวัตภุประสงค์จากที่ได้ตั้งค่าเป้าหมายไว้ ร้อยละ 60 มีค่าความพึงพอใจต่อกิจกรรมต่าง ๆ  4.07
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรรายงานค่าร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษา แต่ไม่ได้แจกแจงร้อยละสัมฤทธิผลการพัฒนาทักษะรายด้านต่าง ๆ ผ่านการ mapping การรายงานผลจึงอาจไม่เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของทักษะในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาในหลักสูตร
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ศิลปนิพนธ์ในปี 2566 มีผู้ทำศิลปนิพนธ์ จำนวน 21 ผลงาน ประธานกรรมการกำกับมาตราฐานวิชาการ ศาสตราจารย์กมล เผ่าสวัสดิ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้การประเมินรับรองว่ามีผลงานศิลปนิพนธ์ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์งานวิจัยแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 21 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 100 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ในปี 2566 ร้อยละ 85 เห็นควรดำเนินการส่งไปคัดเลือกเพื่อพิจารณาร่วมการประกวด แสดงผลงานสร้างสรรค์ศิลปนิพนธ์กับหน่วยงานวิชาชีพภาพถ่ายหน่วยงานภายนอก
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรอาจรายงานร้อยละสัมฤทธิผลการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมทักษะการวิจัยเพื่อทำให้สามารถสร้างผลงานวิจัยผ่านรายวิชาต่างๆ เพื่อนำลประเมินมา
ปรับปรุงกระบวนการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 50.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 68.29
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 61.54
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 43.75
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 63.41
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 48.72
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.42
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.46
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.54
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ดีขึ้นตามลำดับในทุกด้าน 
1. ค่าความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตรระดับดี และมีค่าสูงขึ้นตามลำดับ
2.  ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมี
ผลงานสร้างสรรค์ระดับชาติ และนานาชาติ จำนวน 10 ผลงาน
3.  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับทุนวิจัยภายใน จำนวน 1 ทุน มูลค่า  100,000 บาท
4.  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 ตำแหน่ง
5.  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อยู่ในระหว่างรอผลการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 ตำแหน่ง


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม

1.หลักสูตรมีการกำหนดคุณสมบัติ และระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ชัดเจน
2.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมี ผลงานสร้างสรรค์ระดับชาติ และนานาชาติ ทุกท่านและสม่ำเสมอและรได้รับทุนวิจัยภายใน
 

ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรรายงานในปีการศึกษา 2565(หน้า 65) ไม่มีการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร แต่ยังมีการทบทวนการประเมิน
กระบวนการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรอยู่เสมอ และพบว่าระบบและกลไกการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรมีประสิทธิภาพ โดยพบว่าอาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร  ขอให้ปรับให้สอดคล้องปีการศึกษา 2566 ที่มีการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่

 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรฯ มีการวางแผนระยะยาวด้านอัตรากำลังของอาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษาและมีแผนการบริหารอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยมีส่วนร่วมจากการบริหารของวิทยาลัยฯ
-หลักสูตรฯ มีระบบและกลไก การบริหารกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ สามารถรักษาอาจารย์ฯที่มีศักยภาพให้คงอยู่ ลดอัตราการลาออกหรือย้ายงาน ดังนี้
  1. การกำหนดภาระหน้าที่งานช่วยบริหารของอาจารย์ประจำหลักสูตร
  2. การกำหนดภาระงานสอนตามความเชี่ยวชาญตามกลุ่มวิชาภายในหลักสูตร
  3. การกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำชั้นปี
  4. การกำหนดภาระอาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์
  5. การกำหนดภาระงานโครงการต่างๆ
  6. กำหนดภาระงานในการตรวจมาตรฐานวิชาการ การทวนสอบผลสัมฤทธ์ และการทำประกันคุณภาพการศึกษา การเทียบโอน
  7. กำหนดภาระงานฝ่ายกิจการนักศึกษา
  8. กำหนดภาระงานดูแลห้องปฏิบัติการ
  9. การจัดการประชุมภายหลักสูตรในวาระต่างๆ
  10. หลักสูตรฯมีการเสนอรายงานการปฏิบัติงานประจำปีของอาจารย์ภายในหลักสูตรต่อคณะฯ
  11. หลักสูตรฯสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างผู้ร่วมงานในการพัฒนาคุณภาพอาจารย์
  12. หลักสูตรฯให้อาจารย์ประจำหลักสูตรประเมินการดำเนินงาน และบริหารงานของหลักสูตร
-ในปี 2566 หลักสูตรฯ ได้ดำเนินการบริหารอาจารย์ไปตามแผนพัฒนาตนเอง ตามกระบวนการ และค่าเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ส่งผลให้ผลการดำเนินการค่าประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯต่อการบริหารหลักสูตรมีอยู่ที่ค่าระดับ 4.54  อยู่ในค่าระดับดีและมีแนวโน้มที่ดีขึ้นต่อเนื่อง  ดังนี้ 
ปีการศึกษา 2564 ค่าความพึงพอใจอาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร   4.47
ปีการศึกษา 2565 ค่าความพึงพอใจอาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร   4.50
ปีการศึกษา 2566 ค่าความพึงพอใจอาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร   4.54

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม

ในปี 2566 หลักสูตรฯ ได้ตั้งค่าเป้าหมายการพัฒนาตนเองด้านต่าง ๆ ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ ดังนี้

  1. ด้านการเรียนการสอน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมีรับการพัฒนาตนเองในด้านผลงานวิชาการเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ด้วยผลงานวิชาการ งานสร้างสรรค์ บทความวิชาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ท่านละ 1 ผลงาน หรือรวมกันแล้วไม่ต่ำกว่า 5 ผลงาน
  2. ด้านผลงานวิชาการ งานสร้างสรรค์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมีผลงานวิชาการ งานสร้างสรรค์ หรือบทความวิชาการทั้งในระดับชาติ และระดับนานาชาติ อย่างใดอย่างหนึ่ง ท่านละ 1 ผลงาน หรือรวมกันแล้วไม่ต่ำกว่า 5 ผลงาน
  3. ด้านการได้รับทุนภายใน หรือภายนอก อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องได้รับทุนวิจัยหรือทุนสร้างสรรค์ รวมกันแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ทุน หรือมีมูลค่าไม่ต่ำกว่า 100,000 บาท
  4. ด้านการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องได้รับตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือ มีความคืบหน้าในการยืนเอกสารเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ 2 ท่าน
  5. ด้านการบริการวิชาการ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องได้มีการบริการวิชาการภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยฯ อาทิ  อาจารย์พิเศษ วิทยากร กรรมการตัดสินผลงาน ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ บทความวิชาการ ทุกท่านรวมกันแล้วไม่ต่ำกว่า 10 ครั้ง
  6. ด้านการฝึกอบรม อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องได้รับการเข้าอบรมด้านการศึกษาการเรียนการสอน เข้าร่วมเสวนา หรือเข้าร่วมเทศกาลศิลปะ นิทรรศการศิลปะในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ท่านละไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง

หลักสูตรควรรายงานผลประเมินความสำเร็จของตามตัวชี้วัดทั้ง 6 ข้อดังกล่าว(มีการรายงานผลในบางข้อตอนท้าย) เพื่อนำผลประเมินมาประกอบการพิจารณาปรับปรุงการดำเนินงาน

แนวโน้มผลงานสร้างสรรค์ และทุนวิจัยภายในภายนอก และค่าความพึงพอใจของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร แนวโน้มดีขึ้นทุกด้าน 
 

ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 0 2 0 7
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 8.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 168.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.47
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.50
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.54
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

แนวโน้มดีทั้ง 2 ด้าน
 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

24
20
83.33
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ ได้ให้ความสำคัญต่อการปรับปรุงสาระวิชาในหลักสูตรให้ทันสมัย โดยปรับปรุงหลักสูตรก่อนรอบการปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑ์ สกอ. ตลอดเวลา โดยในปีการศึกษา 2566 นี้ ได้ใช้หลักสูตรของปีการศึกษา 2563 สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1-ช 4 ในการปรับปรุงหลักสูตรฯ ทุกครั้ง มีระบบและกลไกในการพัฒนาหลักสูตร
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควนมีการรายงานผลการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ ในปีการศึกษา 2566 อันเป็นผลประเมินจากปีการศึกษา 2565 ทำการรายงานผลลัพธ์การเรียนรู้ หรือความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของรายวิชาที่มีความร่วมมือกับสถานประกอบการ 
 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพมีความเชื่อมโยงของสาระรายวิชากับวัตถุประสงค์หลักสูตรและผลลัพธ์การเรียนรู้ และมีการเชื่อมโยงรายวิชาในหลักสูตรกับ ทักษะ TQF 6 ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ DOE 3 ด้านในด้านภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ ด้วยอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ประกอบด้วยนักวิชาการและนักวิชาชีพ ตอบสนองด้านวิชาชีพเน้นการให้ความรู้โดยอาจารย์พิเศษที่เป็นนักวิชาชีพ ผู้ประกอบการ หน่วยงานภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรอาจนำผลประเมิน clo จาก rqf5 และ ผลประเมินผู้ใช้บัณฑิต มาประกอบการพิจารณาปรับปรุงกระบวนการทั้งการ mapping รายวิชากับ tqf5 และ doe3 และการปรับปรุงเนื้อหารายวิชา
 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ปีการศึกษา 2566 ทางหลักสูตรฯ ยังมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสอนในรายวิชาที่สามารถเชื่อมโยงกันทั้งในรายวิชาด้านทฤษฎีและด้านปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษานำแนวคิดในเชิงทฤษฎีไปพัฒนากระบวนการทางคิดเพื่อให้ได้งานสร้างสรรค์อย่างมีคุณภาพ โดยยึดกับหลักสูตร 2563 เหมือนปีการศึกษา 2565 ซึ่งในปีการศึกษา 2566 ทางหลักสูตรฯ ได้บูรณาการรายวิชา  เพื่อเข้าสู่กระบวนการทำงานสร้าง สรรค์ศิลปะภาพถ่ายให้มีผลงานสู่สาธารณชนภายนอก
- ผลลัพท์จากการบูรณาการและพัฒนาผลงานของนักศึกษาทำให้ในปีนี้ ผลงานของนักศึกษาถูกยอมรับ และได้เข้าร่วมแสดงงานนิทรรศการศิลปะ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรสรุปเนื้อหารายวิชาที่มีการปรับให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง เช่นสรุปจากรายวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันฯ 20 รายวิชา ทำการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์การปรับให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขา และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการในรอบต่อไป
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566  หลักสูตรฯ ได้กำหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยคำนึงถึงความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในวิชาที่สอน รวมถึงประสบการณ์การทำงานของอาจารย์แต่ละคน และเป็นความรู้ที่ทันสมัย เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้ที่แท้จริง โดยมีการดำเนินการกำหนดผู้สอน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จากการ mapping รายชื่ออาจารย์ผู้สอนกับชื่อรายวิชา หลักสูตรควรระบุความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในวิชาที่สอน รวมถึงประสบการณ์การทำงานของอาจารย์แต่ละคน และเป็นความรู้ที่ทันสมัยตามที่แจ้งในระบบกลไก 
 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ ได้มีการปรับการเรียนการสอนจากการประชุมหาข้อสรุปจากอาจารย์ผู้สอน และความคิดเห็นจากนักศึกษาหลังจบปีการศึกษา 2565 เพื่อนำมาปรับปรุงการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2566
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรสรุปข้อเสนอการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนจาก RQF.5 ปีการศึกษา 2565 มาสู่การจัดทำ RQF.3 ปีการศึกษา 2566
 
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ ได้บูรณาการการวิจัย การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม ความเป็นไทย และการเข้าสู่ชุมชน เข้าด้วยกัน โดยนำไปปฏิบัติใช้จริงเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่เป็นรูปธรรม โดยไม่ได้แยกหัวข้อทั้ง 3 ส่วนออกจากกัน โดยได้การเชื่อมโยงวิชาการวิจัยศิลปะภาพถ่าย วิชาโครงงานส่วนบุคคล วิชาศิลปนิพนธ์ และวิชาการสัมมนาภาพถ่ายเข้าด้วยกัน โดยปีการศึกษา 2566 มีผลการดำเนินการศิลปนิพนธ์ Staying Alive 2024 จัดแสดงที่หอศิลป์ราชดำเนินเมื่อวันที่ 16-24  มกราคม พ.ศ. 2566
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการบูรณาการรายวิชากับพันธกิจต่าง ๆ ด้วยตัวชี้วัดร้อยละผลลัพธ์การเรียนรู้เฉลี่ยในแต่ละกลุ่มวิชาบูรณาการ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566  หลักสูตรฯ ได้ทำการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยอาจารย์ผู้สอนสังเกต ตรวจสอบพฤติกรรมต่างๆ และผลการเรียนในชั้นเรียน นอกจากนี่หลักสูตรได้เชิญให้คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ ตรวจรับรองผลงาน การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐาน 6 ด้านที่พึงมี ซึ่งได้รายงานไว้ใน มคอ. 5
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรไม่ได้แสดง rqf3. และ rqf.5 โดยตรงในระบบ dbs เป็นการแสดง link ไปยังระบบ มคอ. ของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ 
-หลักสูตรควรรายงานผลประเมินค่าร้อยละสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชา เพื่อนำผลการประเมินมาประกอบการพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอน

 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาทั้งจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และคณะกรรมการกำกับมาตรฐานหลักสูตร ดังนี้
     1) การกำกับให้มีการพัฒนาและตรวจสอบเครื่องมือประเมินนักศึกษาที่เหมาะสมกับรายวิชาและผลลัพธ์การเรียนรู้
     2) การวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพ/ ปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของนักศึกษา เช่น
            2.1) การวิพากษ์ การปรับปรุงข้อสอบ
            2.2) การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เช่น การส่งเสริมการสอบ Exit Exam, การประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาโดยการให้นักศึกษาประเมินตนเอง เป็นต้น โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องปรับปรุงตามผลการประเมินให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ของรายวิชาที่ประเมิน)

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรายงานผลการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาตามที่ระบุข้อ 1. ข้อ 2.1 และ ข้อ 2.2 เพื่อนำผลประเมินสู่การปรับปรุงกระบวนการ
 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) ทั้งจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และคณะกรรมการกำกับมาตรฐานหลักสูตร มีการให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาในปีการศึกษา 2567 ไว้อย่างชัดเจน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุมสาขาฯ กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ จำนวน 4 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเปิดทำการสอนจำนวน 21 รายวิชา มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 และ RQF.4 (ถ้ามี) จำนวน 10 วิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การศึกษา 2566 หลักสูตรมีการพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ ตามข้อเสนอแนะใน RQF.7 ของปีการศึกษา 2565 ซึ่งได้ดำเนินการเรียบร้อยเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2567
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ มีการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ จำนวน 1 คน โดยได้รับการปฐมนิเทศและคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ผลงานวิชาการ การพัฒนาตัวเอง การประคุณภาพฯ การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ที่ปรึกษา กรรมการศิลปนิพนธ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคน ได้มีการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ทางวิชาการ/ วิชาชีพ ดังต่อไปนี้
1. ผศ.อำพรรณี สะเตาะ
อบรมหลักสูตรจริยธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์ 28 กุมภาพันธ์  2567
2. ดร.สุชีพ กรรณสูต
การใช้งานระบบ IP (Improvement Plan) สำหรับผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565
22 มิถุนายน 2566
3. อ.อุกฤษฎ์ จอมยิ้ม
สัมมนาว่าด้วยสื่อ ศิลปะและการออกแบบระดับชาติ ครั้งที่ 1 25 กรกฎาคม 2566
4. อ.อนุพงศ์ สุทธะลักษณ์
สานสัมพันธ์เครือข่ายและทัศนศึกษาวิถีริมสายน้ำ นักศึกษานานาชาติ 2566
1-2 พฤษภาคม 2567
5. อ.ปรพล ชินวรรณโชติ
SILPA Creative Works Exhibition 2023  นิทรรศการสร้างสรรค์ระดับชาติ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
15 กันยายน 2566
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ มีบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน จำนวน 2 คน โดยได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/ วิชาชีพ จำนวน 3 ครั้งในปีการศึกษา 2566 คิดเป็นร้อยละ 50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพจัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.62
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.53
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 21 รายวิชา โดยสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 21 รายวิชา โดยมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน จำนวน 21 รายวิชา ซึ่งรวมทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ย 4.68
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปะภาพถ่ายและสื่อทัศนภาพ จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ควรครอบคลุมนักศึกษาทุกชั้นปีการศึกษา) โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.42
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 15 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 15
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

หลักสูตรฯ มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ใหม่พร้อมใช้งานในปริมาณที่เพียงพอต่อการใช้งานและมีคุณภาพ จากการดำเนินการพัฒนาอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการแล้วเสร็จในปีการศึกษา 2566 ตามงบประมาณที่ได้รับตามแผนการดำเนินการ  นอกจากนี้ผลสัมฤทธิ์จากการปฎิบัติงานนักศึกษาในหลักสูตรดีขึ้นเป็นที่ประจักษ์จากรายงานของคณะกรรมการกำกับมาตรฐานปี 2566 ถึงผลงานนักศึกษาที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง และนักศึกษาได้รับรางวัลจากหลายเวทีประกวดทั้งรางวัลผลงานภาพถ่ายระดับอุดมศึกษาและรางวัลผลงานภาพถ่ายระดับชาติ เป็นต้น ผลจากการที่หลักสูตรฯได้มีการติดตาม ปรับปรุงจากผลการประเมินการใช้ห้องปฏิบัติการฯที่พบปัญหาและข้อร้องเรียน ได้ส่งผลเห็นชัดเป็นรูปธรรมจากค่าการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อห้องปฏิบัติการดีขึ้นเป็นลำดับ

 

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปี 2566 หลักสูตรฯ มีการดำเนินการวางแผน ตั้งเป้าหมาย มอบหมายหัวหน้าหลักสูตร และผู้ช่วยอาจารย์ที่ดูแลห้องปฏิบัติการ สำรวจ และตั้งเป้าหมายดำเนินการ งบประมาณ และดำเนินการ อันเป็นผลมาจากการจากข้อเสนอแนะปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วยการปรับปรุง ห้องปฏิบัติการ และอุปกรณ์ เครื่องมือ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปี 2566 หลักสูตรฯ ได้ดำเนินการนำแผนมาปรับปรุงห้องปฏิบัติการ และจัดซื้ออุปกรณ์เสริมให้ทันสมัยต่อเทคโนโลยี และเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
  1. ปรับปรุงอุปกรณ์ห้องเสียง ห้องตัดต่อ โครงสร้างแล้วเสร็จโดยฝ่ายสำนักงานอาคารและสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 ห้อง  5/252 A8, A9, A10 จัดซื้ออุปกรณ์ เครื่องมือการผลิตตัดต่อภาพ และเสียงเพิ่มเติม เพื่อใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้องเช่น วิชา PHO270 การออกแบบเสียงเพื่อสื่อทัศนภาพ และ วิชา PHO377 วีดิโออาร์ต เป็นต้น
  2. ดำเนินการผลิตสื่อการสอนพัฒนาการสอนด้วยสื่ออิเลคโทนิคส์ และเปิดกลุ่มการสอนด้วยกลุ่ม Face book เพื่อติดต่อออนไลน์ระหว่างผู้สอนและนักศึกษาและรวบรวมผลงานในแต่ละรายวิชา
  3. ปรับปรุงพื้นที่ห้อง 253/1 เพื่อเป็นพื้นที่การใช้งานในการแลกเปลี่ยนทัศนคติ ปรึกษาการทำงานร่วมกัน
  4. ปรับปรุงพื้นที่โถงทางเดินเข้าสาขาเป็นพื้นที่แสดงผลงาน Photography Gallery
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ และต้องมีการประเมินโดยนักศึกษาถึงความพร้อมของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อื่นๆ เช่น คอร์สแวร์ สื่อ หรือระบบเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ต่างๆ ฐานข้อมูลผลงานวิชาการต่างๆ และมีข้อมูลใดมาสนับสนุนว่าเพียงพอและเหมาะสม โดยเน้นสิ่งสนับสนุนที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรกำหนด
 
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การประเมินค่าความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนดีขึ้นเป็นลำดับ เนื่องจากหลักสูตรฯได้ทำความเข้าใจกับนักศึกษาถึงเรื่องอุปกรณ์ใหม่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ เริ่มใช้งานได้ในปีการศึกษา 2565 ต่อเนื่องปีการศึกษา 2566 จากนั้นจึงดำเนินการให้นักศึกษาทำแบบสอบถามค่าความพึงพอใจ ได้ค่าความพึงพอใจ 4.62 ดำเนินการสอบถามค่าความพึงพอใจอาจารย์ต่อห้องปฏิบัติการ ได้ค่าความพึงพอใจ 4.22 ค่าความพึงพอใจนักศึกษา อาจารย์ ต่อห้องปฏิบัติการเฉลี่ยรวม 4.42 ส่งผลให้ค่าความพึงพอใจเฉลี่ยรวมดีขึ้น

2564 ค่าความพึงพอใจนักศึกษา และอาจารย์ต่อห้องปฏิบัติการ 4.32
2565 ค่าความพึงพอใจนักศึกษา และอาจารย์ต่อห้องปฏิบัติการ 4.35
2566 ค่าความพึงพอใจนักศึกษา และอาจารย์ต่อห้องปฏิบัติการ 4.42

หลักสูตรมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในปีการศึกษาต่อไป โดยการรักษาและปรับปรุงพื้นที่ห้องปฏิบัติการให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ รวมทั้งการตรวจสอบอุปกรณ์ที่ชำรุดแล้วทำแผนจัดซื้ออุปกรณ์ทดแทนใหม่รวมทั้งแผนโครงการจัดซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อประจำห้องปฏิบัติการและจัดซื้ออุปกรณ์เสริม และครุภัณฑ์ใหม่มาใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษา ซึ่งหลักสูตรมีแผนดำเนินการจะขออนุมัติจัดซื้อ ดังนี้
  1. Computer + Monitor Display 2 units
  2. Software DaVinci Resolve, Edit, Color 
  3. Software Sound Logic Pro
  4. Godox Cotinue Light 
  5. Godox AD100 Pro Set X2 Dual 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรประกอบไปด้วยอาจารย์ผู้สอนที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ศิลปะภาพถ่ายเเละสื่อทัศนภาพ มีความรอบรู้ทั้งด้านวิชาการเเละด้านการประกอบวิชาชีพ และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานวิชาการ งานสร้างสรรค์ทั้งในระดับนานาชาติ และระดับชาติ ทั้งได้รับทุนสร้างสรรค์ และทุนวิจัยจากหน่วยงานภายนอกและภายใน
  2. หลักสูตรมีระบบและกลไกการดำเนินงานด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้ได้รับรางวัลและเป็นที่ยอมรับของวงการวิชาชีพ และมีความสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
  3. หลักสูตรฯ มีการปรับทักษะและความรู้ทางด้านวิชาการให้มีความทันสมัยทั้งในด้านภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และสื่อต่างๆที่เน้นให้นักศึกษามีการทำงานสร้างสรรร่วมกันเป็นทีมมากขึ้น ผลงานนักศึกษามีจุดเด่นในเรื่องการสร้าง concept ร่วมกับ creative ซึ่งจะทำให้นักศึกษาทดลองการทำงานในเรื่องเทคนิคที่หลากหลายมากขึ้น จะทำให้นักศึกษาทำงานในเชิงวิชาชีพได้จริง โดยกระบวนการทำงานมีลักษณะของการทำงานในเชิงวิชาชีพ และผลงานมีความใกล้เคียงกับงานของมืออาชีพ ขอให้รักษาคุณภาพงานและพัฒนาในแง่คุณภาพต่อไป
  4. ผลงานศิลปนิพนธ์มีหัวข้อ และผลงานที่สอดคล้องสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์งานวิจัยแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 21 ผลงาน ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์งานวิจัยแห่งชาติ จากจำนวนผลงาน 21 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 100 ในปีการศึกษา 2566 ขอให้รักษาคุณภาพนี้ไว้
  5. โครงการ Visual Symbiosis เป็นโครงการการที่ได้รับความร่วมมือในการส่งผลงานจัดแสดงนิทรรศการ จากนักศึกษาและช่างภาพจากภายนอก ทำให้นักศึกษายังเข้าใจถึงกระบวนการการจัดแสดงงานในพื้นที่หอศิลป์ร่วมกัน ควรเป็นโครงการที่ดำเนินการต่อเนื่อง
  6. โครงการ Soreal workshop เป็นโครงการที่ดีในการประชาสัมพันธ์หลักสูตร กิจกรรมของหลักสูตรได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยม โดยเฉพาะการได้ปฏิบัติงานจริงในสตูดิโอและห้องแล็ปอัดขยายภาพขาวดำ
  7. หลักสูตรมีการนำผลประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้มาปรับปรุงในทุกด้าน ส่งผลให้เกิดความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้มีแนวโน้มที่ดี

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรพัฒนาเเละมุ่งเป้าในเรื่องการประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ด้วยวิธีการที่หลากมิติซึ่งผู้ประเมินเชื่อว่าทางหลักสูตรไม่ได้มองข้าม เเต่ด้วยพลวัตรการเเข่งขันในการรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยรัฐเเละเอกชนมีการเเข่งขันสูงจึงควรวางให้เป็นเป็นยุทธศาสตร์หลักที่ต้องวางเเผนในระยะสั้นเเละระยะยาว เพื่อเพิ่มยอดรับนักศึกษาให้สูงขึ้น
  2. หลักสูตรควรรายงานผลประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีรายละเอียดการทำหน้าที่ที่ปรึกษาในแต่ละด้าน (ใน dbs มีแต่สรุปคะแนนรายบุคคล) เพื่อนำผลประเมินมาประกอบการปรับปรุงกระบวนการ
  3. หลักสูตรรายงานค่าร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษา แต่ไม่ได้แจกแจงร้อยละสัมฤทธิผลการพัฒนาทักษะรายด้านต่าง ๆ ผ่านการ mapping การรายงานผลจึงอาจไม่เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของทักษะในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาในหลักสูตร
  4. หลักสูตรควรรายงานผลประเมินค่าร้อยละสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชา จาก rqf.5 เพื่อนำผลการประเมินมาประกอบการพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอนใน rqf.3

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.53
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.72

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.77 4.77 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.96 - - 3.96 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.41 3.75 4.77 3.72 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก