รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศและการพัฒนา

วันที่ประเมิน: 21 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
1. รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ
2. ผศ.ดร.วรรณกิตติ์วรรณศิลป์
3. รศ.ดร.สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขหลักฐานอ้างอิง และแนบหลักฐานเป็นผลงานวิชาการที่เป็น paper หรือ Hyper link ไปยังบทความ
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขในหลักฐานอ้างอิง และแนบหลักฐานเป็นผลงานวิชาการที่เป็น paper หรือ Hyper link ไปยังบทความ
 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ปรับแก้ไขในหลักฐานอ้างอิง และแนบหลักฐานเป็นผลงานวิชาการที่เป็น paper หรือ Hyper link ไปยังบทความ
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 5 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ปรับแก้ไขในหลักฐานอ้างอิง และแนบหลักฐานเป็นผลงานวิชาการที่เป็น paper ในเอกสาร ศกด.1.1.10 เอกสารรายชื่อผลงานวิชาการทุกชิ้นย้อนหลัง 5 ปีของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระในรูปแบบ APA

 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แบบ 1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. อย่างน้อย 2 เรื่อง
แบบ 2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (0 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ N/A คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ ในตัวบ่งชี้เชิงกระบวนการ หลักสูตรควรรายงานให้ครบ P D C A
เมื่อมีการรายงาน P = 1 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D = 2 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C = 3 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C A (มีผลรูปธรรมชัดเจน) = 4 คะแนน

>>> รูปแบบการรายงานให้เป็นวงจร PDCA โดยเริ่มจาก
1. กระบวนการดำเนินงาน (Plan) ที่มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จและออกแบบแนวปฏิบัติที่จะใช้เพื่อให้บรรลุความสำเร็จนั้น เพื่อจะได้นำไปใช้ในการประเมินผลการดำเนินงาน
2. การดำเนินงาน (Do) คือการดำเนินการให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งคาดหวังผลสำเร็จ (Outcome) ที่มากกว่าเดิม
3. การประเมินผลการดำเนินงาน (Check) โดยเทียบกับเป้าหมาย
4.การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน (Act) คือการนำผลที่ได้จากการประเมินผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2565 มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ยอดนักศึกษามีจำนวนน้อย ควรเพิ่มระบบและกลไกในการเพิ่มยอดนักศึกษา
 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานในประเด็นการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ ในหัวข้อนี้หลักสูตรรายงานเป็นระบบกลไกการรับนักศึกษาทั้งหมด
*ขอให้ปรับแก้ไขการรายงาน โดยระบุ> หลักสูตรมีระบบกลไกการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ก่อนเข้าศึกษาในหลักสูตรอย่างไร เช่น การกำหนดความรู้ ความสามารถและทักษะพื้นฐานในการศึกษาระดับปริญญาเอก การกำหนดเป้าหมายการเตรียมความพร้อม รวมถึงการติดตามผลลัพธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ก่อนเข้าศึกษาในปีต่อไป* 


- ควรรายงานการเตรียมควาพร้อมของการรับนักศึกษาใหม่ถึงแม้จะมี 1 คน ควรมีการรายงานผลการดำเนินการว่าหลักสูตรได้พัฒนานักศึกษาแบบใดและได้ผลอย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ ในตัวบ่งชี้เชิงกระบวนการ หลักสูตรควรรายงานให้ครบ P D C A
เมื่อมีการรายงาน P = 1 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D = 2 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C = 3 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C A (มีผลรูปธรรมชัดเจน) = 4 คะแนน

>>> รูปแบบการรายงานให้เป็นวงจร PDCA โดยเริ่มจาก
1. กระบวนการดำเนินงาน (Plan) ที่มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จและออกแบบแนวปฏิบัติที่จะใช้เพื่อให้บรรลุความสำเร็จนั้น เพื่อจะได้นำไปใช้ในการประเมินผลการดำเนินงาน
2. การดำเนินงาน (Do) คือการดำเนินการให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งคาดหวังผลสำเร็จ (Outcome) ที่มากกว่าเดิม
3. การประเมินผลการดำเนินงาน (Check) โดยเทียบกับเป้าหมาย
4.การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน (Act) คือการนำผลที่ได้จากการประเมินผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2565 มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
 หลักสูตรฯ จัดกิจกรรม “คลินิกให้คำปรึกษาดุษฎีนิพนธ์”
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การรายงานขาดความเชื่อมโยงกัน เช่น ในประเด็นการนำระบบกลไกสู่การปฏิบัติ หลักสูตรรายงาน> "เนื่องจากเป็นการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ไม่มี Course work จึงได้จัดการเรียนการสอนเพื่อปรับพื้นความรู้ทางระบบออนไลน์ ทุกวันเสาร์ที่สองของเดือน โดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ ระเบียบเศรษฐกิจและการเงินของโลกในยุค New Normal การก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้นำโลกของประเทศจีน เป็นต้น" แต่ในหัวข้อการประเมินกระบวนการ ไม่พบการนำข้อมูลเรื่องการจัดการสอนปรับพื้นฐานฯ มาทบทวนหรือประเมินว่าผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนดในเรื่องการปรับพื้นฐานให้กับนักศึกษาหรือไม่ อย่างไร แล้วจึงนำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน คือ การนำผลที่ได้จากการประเมินผลการดำเนินงานมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น แล้วส่งผลต่อนักศึกษาที่ได้รับการปรับพื้นฐานอย่างไร 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรระบุเพิ่มเติมถึงโดยเน้นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่นอกเหนือจากคุณลักษณะมหาบัณฑิตที่พึงประสงค์ 4 ประการ

ควรรายงานที่เชื่อมโยง เช่น หัวข้อดุษฎีนิพนธ์มีความเชื่อมโยงกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้จัดให้มีรายการเสวนา ป.เอก ทุกวันเสาร์ที่สองของเดือน เพื่อปรับพื้นความรู้ และเป็นการพบปะกันระหว่างนักศึกษา ป.เอก ทุกชั้นปี และคณาจารย์ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อปรึกษาหารือปัญหาต่างๆในการเรียน การเขียนและการตีพิมพ์บทความในวารสารและงานประชุมวิชาการ และปัญหาอื่นๆ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้หลักสูตรปรับแก้ไขการรายงาน ให้มีครอบคลุมกระบวนการ PDCA โดยระบุถึงกระบวนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการสร้างผลงานวิจัย ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์หรือตอบสนองความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วงการวิชาการหรือสถาบันการศึกษา โดยผ่านกระบวนการวิจัย อย่างไร ส่งผลให้นักศึกษามีผลงานวิจัยหรือบทความวิชาการหรือมีผลงานร่วมกับอาจารย์ เป็นต้น (อาจเชื่อมโยงไปถึงผลงานนักศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ 2.2) และมีการประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง/พัฒนา 

ควรมีการรายงานผลการดำเนินงานที่มีการนำเสนอข้อมูลของหัวข้องานวิจัยนั้นมีส่วนเชื่อมโยงกับการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติอย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2562 เป็นหลักสูตร 3 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2564)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.50
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.75
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.75
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเน้นเรื่องระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 3 ท่าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ควรเพิ่มเอกสาร MOU

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 0
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 2
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 100.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 2 5 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 126.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.4 จำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนยืนยัน
[ฐานข้อมูล]
ผลการประเมิน
กรรมการ
TCI SCOPUS
[1] จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง 0 1 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร [1] / [2] 0.33
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] x 5 / 0.25 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา
  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 2.5 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 3.0 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 0.25 ขึ้นไป
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ปรับแก้ไขรายการหลักฐาน โดย Upload ไฟล์ผลงานวิชาการหรือ Hyper link ไปยังบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 66.67
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 5.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อัตราคงอยู่แนวโน้มดี ความพึงพอใจแนวโน้มดี

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

1
1
100.00
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ ในตัวบ่งชี้เชิงกระบวนการ หลักสูตรควรรายงานให้ครบ P D C A
เมื่อมีการรายงาน P = 1 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D = 2 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C = 3 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C A (มีผลรูปธรรมชัดเจน) = 4 คะแนน

>>> รูปแบบการรายงานให้เป็นวงจร PDCA โดยเริ่มจาก
1. กระบวนการดำเนินงาน (Plan) ที่มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จและออกแบบแนวปฏิบัติที่จะใช้เพื่อให้บรรลุความสำเร็จนั้น เพื่อจะได้นำไปใช้ในการประเมินผลการดำเนินงาน
2. การดำเนินงาน (Do) คือการดำเนินการให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งคาดหวังผลสำเร็จ (Outcome) ที่มากกว่าเดิม
3. การประเมินผลการดำเนินงาน (Check) โดยเทียบกับเป้าหมาย
4.การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน (Act) คือการนำผลที่ได้จากการประเมินผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2565 มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการเรียนแบบ 1.1 วิทยานิพนธ์ ไม่มีรายวิชาซึ่งเหมาะกับความต้องการของผู้เรียนที่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ประกอบธุรกิจ หรือทำงานเป็นผู้บริหาร ไม่มีเวลาที่จะมานั่งเรียนในชั้นเรียน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีรายวิชา คือ PEG 700 ดุษฎีนิพนธ์ ซึ่งสามารถรายงานในประเด็นนี้ เนื่องจากหลักสูตรมีการรายงานว่า> "มีการปรับเปลี่ยนวิธีการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปฯ" ดังนั้นขอให้รายงานเพิ่มเติม> หลักสูตรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์อย่างไร มีการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับผู้เรียนหรือสถานประกอบการในปัจจุบันอย่างไร 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การรายงานไม่สอดคล้องกับประเด็นการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ฯ 
- ขอให้หลักสูตรปรับแก้ไขการรายงาน > หลักสูตรมีระบบกลไกการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตรอย่างไร ดำเนินการอย่างไร มีการประเมินผลแล้วทำการทบทวนระบบและกลไกการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF 5 ด้าน) ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตรนั้นอย่างไร

- พบแต่คุณลักษณะของผู้เรียน
 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรมีการรายงานผลการดำเนินการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- หลักฐาน ข้อมูลกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการประเมิน 
 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ ในตัวบ่งชี้เชิงกระบวนการ หลักสูตรควรรายงานให้ครบ P D C A
เมื่อมีการรายงาน P = 1 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D = 2 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C = 3 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C A (มีผลรูปธรรมชัดเจน) = 4 คะแนน

>>> รูปแบบการรายงานให้เป็นวงจร PDCA โดยเริ่มจาก
1. กระบวนการดำเนินงาน (Plan) ที่มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จและออกแบบแนวปฏิบัติที่จะใช้เพื่อให้บรรลุความสำเร็จนั้น เพื่อจะได้นำไปใช้ในการประเมินผลการดำเนินงาน
2. การดำเนินงาน (Do) คือการดำเนินการให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งคาดหวังผลสำเร็จ (Outcome) ที่มากกว่าเดิม
3. การประเมินผลการดำเนินงาน (Check) โดยเทียบกับเป้าหมาย
4.การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน (Act) คือการนำผลที่ได้จากการประเมินผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2565 มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอก มาบรรยายในหัวข้อเกี่ยวกับ หัวข้อ/ประเด็นล่าสุดที่สำคัญของประเทศและของโลก เพื่อให้นักศึกษาเป็นผู้ตื่นรู้ในสถานการณ์ต่างๆ และได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์อย่างสม่ำเสมอ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบแผน 1 ทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว ผลการดำเนินงานจึงควรให้เห็นถึงอัตราสำเร็จการศึกษาของนักศึษาที่เข้า ปี 2563 ควรจะเริ่มสำเร็จตั้งแต่ 2565 
- ขอให้ปรับแก้ไขการรายงาน โดยระบุ> หลักสูตรมีการวางแผนการจัดอาจารย์ผู้สอนตามแผนการสอนอย่างไร เช่น การกำหนดคุณสมบัติอาจารย์ผู้สอนที่เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน/ การดูแลวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา (เช่น พิจารณาจากคุณวุฒิ ประสบการณ์สอน ประสบการณ์บริการวิชาการ ประสบการณ์วิจัย และตำแหน่งวิชาการ) มีการประชุมเตรียมความพร้อมในการวางระบบอาจารย์ผู้สอน โดยมีการพิจารณาความสอดคล้องของคุณวุฒิ และความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญ และมีการประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง/พัฒนา แผนการจัดอาจารย์ผู้สอนในปีต่อไป อย่างไร
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรมีการายงานผลการดำเนินการ ได้แก่ ผลสอบวัดคุณสมบัติ ผลสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ เป็นต้น
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ขาดการรายงานผลการดำเนินการที่เชื่อมโยงถึงหัวข้อดุษฎีนิพนธ์
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มเติมการรายงานผลการดำเนินการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานในรายงานและในระบบ DBS ไม่ตรงกัน เช่น ในรายงาน> ดดด.5.2.01 ผลสอบวัดคุณสมบัติ แต่ในระบบ DBS> ศกด.5.2.01 แต่งตั้งคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ เป็นต้น

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ ในตัวบ่งชี้เชิงกระบวนการ หลักสูตรควรรายงานให้ครบ P D C A
เมื่อมีการรายงาน P = 1 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D = 2 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C = 3 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C A (มีผลรูปธรรมชัดเจน) = 4 คะแนน

>>> รูปแบบการรายงานให้เป็นวงจร PDCA โดยเริ่มจาก
1. กระบวนการดำเนินงาน (Plan) ที่มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จและออกแบบแนวปฏิบัติที่จะใช้เพื่อให้บรรลุความสำเร็จนั้น เพื่อจะได้นำไปใช้ในการประเมินผลการดำเนินงาน
2. การดำเนินงาน (Do) คือการดำเนินการให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งคาดหวังผลสำเร็จ (Outcome) ที่มากกว่าเดิม
3. การประเมินผลการดำเนินงาน (Check) โดยเทียบกับเป้าหมาย
4.การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน (Act) คือการนำผลที่ได้จากการประเมินผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2565 มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มเติมการรายงานผลการดำเนินการ เนื่องจากยังไม่เห็นข้อมูลที่เชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขาดผลการดำเนินการ และไม่พบการรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา นำ QE มารายงาน ได้ ถึงแม้หลักสูตรไม่มี Course Work
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ขาดผลการดำเนินการ
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ขาดผลการดำเนินการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ควรเพิ่มรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ประจำปีการศึกษา 2566 ตามแบบฟอร์มการทวนสอบของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต)  สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1NYRY0vL6ZdHlSXXFSgVnN-EYrm656fHH/view

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ควรเป็นการประชุมของหลักสูตร เอกสารหลักฐานเป็นข้อมูลการประชุมของคณะไม่ใช่หลักสูตร

และหลักฐานการประชุมมีจำนวน 5 ครั้ง ไม่ตรงกับรายงานที่ระบุไว้ 10 ครั้ง
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เพิ่ม ศกด.5.4.04 มคอ.5 รายวิชา PEG 709 ดุษฎีนิพนธ์แบบ 1.1
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ชื่อรหัสเอกสารไม่ถูกต้อง
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรต้องมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ควรเพิ่มายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ประจำปีการศึกษา 2566 ตามแบบฟอร์มการทวนสอบของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต)  สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1NYRY0vL6ZdHlSXXFSgVnN-EYrm656fHH/view
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร = 4.60
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผลการประเมิน 3.60 ตรงกับรายการหลักฐาน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เพิ่มรายการหลักฐานลงในรายงานให้ครบถ้วน
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 12 4.50
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 11
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 91.67
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.63 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ ในตัวบ่งชี้เชิงกระบวนการ หลักสูตรควรรายงานให้ครบ P D C A
เมื่อมีการรายงาน P = 1 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D = 2 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C = 3 คะแนน
เมื่อมีการรายงาน P D C A (มีผลรูปธรรมชัดเจน) = 4 คะแนน

>>> รูปแบบการรายงานให้เป็นวงจร PDCA โดยเริ่มจาก 1. กระบวนการดำเนินงาน (Plan) ที่มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จและออกแบบแนวปฏิบัติที่จะใช้เพื่อให้บรรลุความสำเร็จนั้น เพื่อจะได้นำไปใช้ในการประเมินผลการดำเนินงาน 2. การดำเนินงาน (Do) คือการดำเนินการให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งคาดหวังผลสำเร็จ (Outcome) ที่มากกว่าเดิม 3. การประเมินผลการดำเนินงาน (Check) โดยเทียบกับเป้าหมาย 4.การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน (Act) คือการนำผลที่ได้จากการประเมินผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2565 มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้หลักสูตรเพิ่มเติมการรายงาน> ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ว่าส่งผลต่อการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาอย่างไร
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ขาดข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
- หลักสูตรต้องรายงานคะแนนความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ รวมถึงเป้าหมาย กระบวนการ ผลการดำเนินงาน และควรมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากทั้งสองกลุ่มเพื่อนำสู่การพิจารณาปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกระบวนการและจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เป็นความจำเป็นต่อการจัดการเรียนการสอนและการทำวิทยานิพนธ์ให้มีคุณภาพให้มีคุณภาพ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่พบความพึงพอใจของอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำที่เพียงพอต่อการรองรับนักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรมีกลยุทธ์ในการเพิ่มจำนวนนักศึกษาและรักษาอัตราคงอยู่ให้ดีขึ้น
  2. หลักสูตรควรกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์อันจะส่งผลต่ออัตราการสำเร็จการศึกษาในอนาคต
  3. หลักสูตรควรมีมาตรการการติดตามการทำดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษาอย่างใกล้ชิด เพื่อให้นักศึกษาเกิดความก้าวหน้าในการทำวิจัย ซึ่งจะส่งผลให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาในอนาคต

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 N/A
2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ N/A
3.1 การรับนักศึกษา 2.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 2.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 2.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 2.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 2.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.50
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 2.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [11 ตัวบ่งชี้] 2.86

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 0 - - 0.00 0.00 N/A
3 3 2.33 - - 2.33 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
5 4 2.00 2.83 - 2.63 ระดับคุณภาพปานกลาง
6 1 - 2.00 - 2.00 ระดับคุณภาพน้อย
ผลการประเมิน 3.00 2.63 0.00 2.86 ระดับคุณภาพปานกลาง
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพปานกลาง N/A