วันที่ประเมิน: 27 สิงหาคม 2567, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรได้มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2 คนใน 5 คน |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบหลักสูตรลำดับที่ 4, 5 โดยทางหลักสูตรได้อ้างถึงบันทึกการประชุมสภามหาวิทยาลัย แต่ไม่ได้ระบุครั้งที่เท่าไร ประชุมเมื่อไร หลักสูตรโปรดกรอกข้อมูลให้ชัดเจน พร้อมแนบเอกสารประกอบ(โดยได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 19 มิ.ย.2567) |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)
|
|
ข้อคิดเห็น
-ผลงานวิชาการของผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคนละ 1 ชิ้น-ผลงานวิชาการที่ได้แสดงมาในเล่ม RQF7 ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่ละคนยังมีน้อย คือ มีคนละ 1 paper เท่านั้น -จำนวนผลงานวิจัยของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในรอบ 5 ปี ที่รายงานใน RQF7 ไม่ตรงกับหลักฐาน ชรศ.1.1.02 -ข้อสังเกต: ใน RQF 2 ดร.สมชนก ไม่ปรากฏคุณวุฒิระดับปริญญาเอก |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า) - ไม่มี
|
|
ข้อคิดเห็น
จำนวนผลงานวิจัยของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่รายงานใน RQF 7 ไม่ตรงกับในหลักฐาน ชรศ.1.1.03 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
จำนวนและรายชื่ออาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำในข้อมูลทั่วไปของหลักสูตร (หน้า 15 - 18) ไม่ตรงกับรายงานในองค์ประกอบที่ 1 (หน้า 25 - 26) และไม่ตรงกับหลักฐาน ชรศ.1.1.04 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้ทบทวนหลักฐานและรายงานใน RQF 7 ให้สอดคล้องกัน |
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรยังไม่ถึงรอบระยะเวลาการปรับปรุงหลักสูตร |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรมีระบบและกลไกในการรับนักศึกษา โดยได้มีการปรับแผนการรับนักศึกษาและจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ แต่จำนวนนักศึกษาก็ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด-มีการปรับกระบวนการรับนักศึกษาและการประชาสัมพันธ์หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีแนวโน้มจำนวนผู้เข้าเรียนมากขึ้นเล็กน้อย ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เนื่องจากจำนวนนักศึกษาแรกเข้ายังน้อย (ปี 2566 มี 6 คน และปี 2567 มี 8 คน) เมื่อเทียบกับจำนวนที่วางแผนไว้คือ 30 คน ถึงแม้จะมีแนวโน้มที่คาดว่าจะดีขึ้น ดังนั้นทางหลักสูตรควรจะมีกลยุทธใหม่ๆที่ใช้ประชาสัมพันธ์ เช่น1. เนื่องจากหลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่ใหม่มากในสังคมไทย อีกทั้งชื่อหลักสูตรยังใช้ภาษาที่เข้าใจยาก ดังนั้นหลักสูตรจึงจำเป็นที่จะต้องประชาสัมพันธ์หรือให้ความรู้ความเข้าใจกับเด็กนักเรียน ผู้ปกครอง และคนทั่วไปให้รู้ว่าชรัณสุขศาสตร์คืออะไร 2. การแนะนำหลักสูตรอาจจะใช้ครูแนะแนวของแต่ละโรงเรียนเป็นคนช่วย โดยหลักสูตรอาจจะมีการจัดอบรมให้ความรู้หลักสูตรนี้กับครูแนะแนวของโรงเรียนต่างๆ เพื่อให้ครูแนะแนวที่ผ่านการอบรมเป็นคนประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนในแต่ละโรงเรียนรู้จัก 3. หลักสูตรอาจจะทำสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น VDO สั้นๆ แนะนำว่า ชรัณสุขศาสตร์คืออะไร และสำคัญอย่างไร และไปเผยแพร่ทางสื่อ online ต่างๆ -จำนวนของนักศึกษาใหม่ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จากข้อมูลพบว่า มีนักเรียนสนใจสมัครเข้าเรียนในปีการศึกษา 2566 และ 2567 จำนวน 17 คน และ 19 คน ควรวิเคราะห์ว่าเพราะเหตุใดจึงรับเข้าเรียนได้เพียง 6-8 คน เพื่อนำมาปรับกระบวนการ เช่น ถ้านักเรียนสมัคร แต่ไม่มาสัมภาษณ์ อาจติดตามนักเรียนทุกคนที่มาสมัคร หรือสัมภาษณ์ในวันที่นักเรียนมาสมัครเรียน และอาจเพิ่มการสัมภาษณ์ online เป็นต้น |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรได้มีการดำเนินการเตรียมความพร้อม แต่ยังไม่พบว่ามีการประเมินผลการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างไร -มีการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาในด้านต่างๆ ได้แก่ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรและการประกอบอาชีพ ด้านความสัมพันธ์และการปรับตัว ด้านการเรียน และด้านสุขภาพ โดยมีการติดตามประเมินผลในบางด้าน และมีอาจารย์ที่ปรึกษาดูแลนักศึกษาได้อย่างใกล้ชิด ควรติดตามผลของการเตรียมความพร้อมเพิ่มเติมต่อผลการเรียนและการปรับตัวของนักศึกษาในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรควรมีการเตรียมความพร้อมด้านการเข้าใจในตัวหลักสูตรและแนวทางการประกอบอาชีพ โดยอาจจะจัด field trip พานักศึกษาและผู้ปกครองไปดูสถานประกอบการ- (เพื่อปรับคะแนนเป็น 3.00) ขอให้หลักสูตรเพิ่มเติมการรายงาน> การประเมินกระบวนการดำเนินงานในการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ + การประเมินกระบวนการดำเนินงานโดยเทียบกับเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนด + มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการดำเนินงานที่มาจากผลการประเมินกระบวนการ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่พบหลักฐาน ชรศ.3.1.06 รายงานการประชุมวางแผนประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกระบบอาจารย์ที่ปรึกษา - มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่ดูแลนักศึกษาทางด้านวิชาการอย่างใกล้ชิด ผลการเรียนรวมของนักศึกษาทุกคนอยู่ในเกณฑ์ดี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรระบุว่ามีการพบอาจารย์ที่ปรึกษา 1 ครั้งต่อภาคการศึกษา แต่เนื่องด้วยจำนวนนักศึกษามีน้อย ดังนั้นการพบอาจารย์ที่ปรึกษาจึงน่าจะสามารถจัดให้พบได้มากว่า 1 ครั้ง/ภาคการศึกษา อาจเป็นทุกเดือน เป็นต้น- (เพื่อปรับคะแนนเป็น 3.00) ขอให้หลักสูตรเพิ่มเติมการรายงาน> การประเมินกระบวนการดำเนินงานในการให้คำปรึกษาฯ แก่นักศึกษาโดยเทียบกับเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนด + มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการดำเนินงานที่มาจากผลการประเมินกระบวนการ |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้จัดกิจกรรมต่างในการเสริมทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 โดยมีการกำหนดตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 โดยผลประเมินจะเป็นความพึงพอใจ ควรประเมินในด้านทักษะที่นักศึกษาได้รับด้วย- มีแผนการพัฒนานักศึกษาแต่ละชั้นปีชัดเจน และมีการประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาหลังการทำกิจกรรม ควรเพิ่มเติมการติดตามผลการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา และนำผลการประเมินและการติดตามมาปรับปรุงกระบวนการพัฒนานักศึกษาต่อไป ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ยังไม่มีการดำเนินงาน- (เพื่อปรับคะแนนเป็น 3.00) ขอให้หลักสูตรเพิ่มเติมการรายงาน> ระบบกลไกของหลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาเพื่อให้เกิดการสร้างผลงานวิจัยฯ + การประเมินกระบวนการดำเนินงานโดยเทียบกับเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนด + มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการดำเนินงานที่มาจากผลการประเมินกระบวนการ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานในระบบ DBS ไม่ตรงกับไฟล์รายงานฯ > ในไฟล์รายงานระบุ ชรศ.3.2.04 คำสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา แต่ใระบบเป็น ชรศ.3.2.05 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกในการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร แต่หลักสูตรจะเขียนกว้างๆ ควรมีรายละเอียดการดำเนินการ ตาม PDCA ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรจะบริหารกำลังคนเป็นหลัก แต่ยังมีภาระงานด้านอื่นๆ เช่น ภาระด้านการวิจัย ภาระด้านการบริการวิชาการ เป็นต้น ควรมีการกำหนดในหลักสูตรไว้ด้วย- หลักสูตรมีการวางแผนล่วงหน้า ในการคัดเลือกอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้มีการส่งเสริมให้อาจารย์ได้มีทักษะความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้น แต่ควรระบุให้ชัดเจนว่าในวิชาใด- หลักสูตรสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าร่วมประชุมวิชการ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 100.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีวุฒิปริญาเอกครบทุกคน มีศักยภาพสูงในการสร้างผลงานวิชาการที่เสริมความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการดูแลและการจัดการสุขภาวะของผู้สูงอายุ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 0.00 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 5 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 0 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 0 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 0 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 0.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 0.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรต้องจัดทำแผนสำหรับอาจารย์ที่มีศักยภาพในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเป็นอันดับแรกก่อน เพื่อให้หลักสูตรได้มีตำแหน่งทางวิชาการ- หลักสูตรจำเป็นต้องมีการส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทำวิจัย เพื่อที่จะสามารถขอตำแหน่งวิชาการได้ โดยหลักสูตรอาจจะทำ Individual plan ในระยะเวลา 2-5 ปีของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่ละคน เพื่อที่จะเป็นส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรยื่นขอตำแหน่งวิชาการ |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 2 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 1.60 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 32.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. จำนวนผลงานวิชาการยังมีจำนวนน้อย 2. ควรจะพัฒนาผลงานวิชาการให้เผยแพร่ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลนานาชาติ เช่น SCOPUS - ขอให้ปรับแก้ไขวันที่ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานทั้ง 2 ชิ้น คือ วันที่ 7 พ.ค. 2567 |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 60.00 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 0.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.36
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.71
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ยังไม่สามารถระบุแนวโน้มได้เพราะขาดข้อมูลในปี 2564 แต่ปี 2565, 2566 ความพึงพอใจดีขึ้น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบการประเมินสาระของหลักสูตร การออกแบบหลักสูตร และการสอน โดยมีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ควรดำเนินอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการปรับกระบวนการให้มีคุณภาพมากขึ้น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีการรายงานเพียงการดำเนินการเท่านั้น ควรเขียนในรูปแบบ PDCAผลการประเมินการเรียนการสอนบางรายวิชาอยู่ในระดับปานกลาง เช่น วิชาระบบร่างกายมนุษย์ 1 ควรวิเคราะห์ประเด็นที่ผลการประเมินต่ำ โดยใช้ผลการประเมินเชิงคุณภาพร่วมด้วย เพื่อนำมาพัฒนาการออกแบบการเรียนการสอนที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนมากขึ้น |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการดำเนินงานตามมาตรฐานคุณวุฒิ 5 ด้านและหลักสูตรเพิ่มด้านที่ 6 แต่ยังไม่มีการเชื่อมโยงไปสู่ผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งสามด้านยังไม่ชัดเจน และหลักสูตรเพิ่งดำเนินการมาได้เพียง 1 ปีการศึกษา |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเชื่อมโยงสู่ชุมชนเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์จริง |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกในกำหนดผู้สอน แต่ควรเขียนในแบบ PDCA ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกในกำกับติดตาม มคอ.3 มคอ.4 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีการระบุให้ชัดเจนในทั้ง 3 ด้านการบูรณาการการเรียนการสอนกับการวิจัยและการบริการวิชาการยังไม่ชัดเจน อาจารย์อาจเพิ่มการสอดแทรกการใช้ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องในเนื้อหาวิชาที่เรียน และเชื่อมโยงเนื้อหาวิชาที่นักศึกษาเรียนสู่การประยุกต์ใช้ หรือการปฏิบัติ |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรได้นำเสนอกว้างๆ ควรต้องมีการประเมินทักษะทั้ง 3 ด้านด้วยการรายงานการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2561 ยังไม่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน [Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen] |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบการทวนสอบอื่นๆ นอกจากคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ เพื่อสะท้อนผู้เรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามที่หลักสูตรได้กำหนด ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าประชุมครบทุกครั้ง (8 ครั้ง) ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ยังไม่เปิดเรียนในวิชาฝึกงาน |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้เพิ่มรายการหลักฐาน RQF3 ในรายงาน |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการทวนสอบ 5 จาก 6 วิชาคิดเป็น 83.33 % ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกต: ในหลักฐานมีการทวนสอบรายวิชา PTS 181 ไม่มีรายวิชา PTS 121 แต่ในรายงานมีระบุทวนสอบรายวิชา PTS 121 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ควรมีหลักฐานการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนจาก RQF7 ปีที่แล้ว โดยอาจเป็นรูปแบบรายงานการประชุมก็ได้ |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับการพัฒนาทางวิชาการทุกคน ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการจัดการเรียนการสอนครบ 6 วิชาคิดเป็น 100% ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา = 4.16 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน = 3.75 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 12 | 5.00 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 12 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 100.00 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีกลไกให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และมีการจัดหาเพิ่มเติม แต่หลักสูตรควรต้องระบุให้ชัดเจนว่าเพิ่มเติมในส่วนไหน อย่างไร- หลักสูตรได้มีการเสนอต่อมหาวิทยาลัยเพื่อให้มีการจัดทำห้องปฏิบัติการของหลักสูตร 1 ห้อง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรนำเสนอในเรื่องเครื่องมืออุปกรณ์ของหลักสูตรด้วย |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลการประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ของนักศึกษา = 3.75- ผลการประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ของอาจารย์ = 4.30 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยเฉพาะความเพียงพอของอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งมีคะแนนความพึงพอใจไม่สูงนัก เพื่อจะได้พัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ได้ตรงความต้องการของผู้เรียนมากขึ้น |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | N/A |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | N/A |
3.1 การรับนักศึกษา | 2.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 2.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | N/A |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 3.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 3.33 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | N/A |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 2.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 2.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 2.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5.00 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 3.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [9 ตัวบ่งชี้] | 2.70 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | N/A | - | - | N/A | N/A | N/A |
3 | 2 | 2.00 | - | - | 2.00 | ระดับคุณภาพน้อย |
4 | 2 | 3.17 | - | - | 3.17 | ระดับคุณภาพดี |
5 | 4 | 2.00 | 3.00 | - | 2.75 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
6 | 1 | - | 3.00 | - | 3.00 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
ผลการประเมิน | 2.47 | 3.00 | N/A | 2.70 | ระดับคุณภาพปานกลาง | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพปานกลาง | ระดับคุณภาพปานกลาง | N/A |