รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสังคม

วันที่ประเมิน: 4 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 เป็นท่านเดิมที่ปรากฏในรายงานผลการดำเนินงานหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 ซึ่งได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้เปลี่ยนแปลงจากที่ระบุไว้ใน มคอ.2 เมื่อ 17 พ.ย 2564 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ไม่มีอาจารย์พิเศษ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 5 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แบบ 1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. อย่างน้อย 2 เรื่อง
แบบ 2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เลือกแบบ 2
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 4 0 0 0
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 1.60 5.00
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 160.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 80 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
เนื่องจากเป็นหลักสูตรที่เปิดดำเนินการสอน ในปีการศึกษา 2564 ผลงานที่ปรากฏส่วนใหญ่ จึงเป็นของนักศึกษา และทุกฉบับได้รับการตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน SCOPUS  Q3 -Q2 

แนวทางเสริม
จัดเวทีแบ่งปันประสบการณ์ที่ดีในการตีพิมพ์ระหว่างนักศึกษาในหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.นิ่มนวล หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกเกี่ยวกับการรับนักศึกษาและเตรียมความพร้อมก่อนเรียน ที่สามารถพัฒนาความพร้อมของนักศึกษาในด้านการวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม มีผลงานเชิงประจักษ์ โดยมีความเป็นไปได้สูงที่นักศึกษาจะสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาหลักสูตร ซึ่งในปีการศึกษา 2565 มีผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรได้ตีพิมพ์บทความวิจัย ที่อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และ SJR แล้ว 2 คนๆ ละ 2 เรื่อง รวมทั้งสิ้น 4 เรื่อง และได้ใบตอบรับตีพิมพ์ จำนวน 3 คนๆ ละ 1 เรื่อง รวมทั้งสิ้น 3 เรื่อง  
ผศ.ดร.กานต์ มีระบบกลไกในการให้นักศึกษาได้หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ทุกคน และผลักดันให้นักศึกษาตีพิมพ์บทความวิจัยที่เห็นผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรม อย่างไรก็ดีแนะนำให้เพิ่มเนื้อหาเรื่องการปรับปรุงกลไกให้ชัดเจนมากขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
มีกลยุทธ์การรับนักศึกษาที่ให้นักศึกษาได้ทดลองเรียนก่อนที่จะลงทะเบียนจริง เป็นกลยุทธ์ที่จูงใจและท้าทายมากสำหรับผู้ที่มีความสนใจแต่ยังไม่มั่นใจในตนเอง ช่วยให้ผู้สมัครมีเวลาในการสร้างความมั่นใจให้กับตนเอง ทำให้มีจำนวนนักศึกษาใหม่
แนวทางเสริม
ในการดำเนินงานปีต่อๆ ไป ควรทบทวนกลยุทธ์ดังกล่าว เพื่อให้การกำหนดจำนวนรับนักศึกษามีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา เนื่องจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรดูแลทั้งหลักสูตรปริญญาเอกและปริญญาโท
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
แนวทางการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่  ที่มุ่งเน้นให้นักศึกษาพัฒนาหัวข้อและโครงร่างวิจัยได้ตั้งแต่ภายในปีแรกหรือภาคการศึกษาแรก และเริ่มค้นคว้าทบทวนวรรณกรรมจนสามารถตีพิมพ์ได้ในปีแรก ถือว่าเป็นการวางแผนดำเนินการที่ดีมาก
แนวทางเสริม
ควรระมัดระวังในการให้คำแนะนำการพัฒนาหัวข้อวิจัยที่จะทำให้ผลการวิจัยเชิงประจักษ์ทั้งหมดที่ออกมามีความคล้ายคลึงกันทั้งในหัวข้อวิจัยและวิธีวิจัยที่ใช้ ซึ่งเป็นการจำกัดโอกาสการ
สร้างทฤษฏีใหม่มากเกินไป
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.นิ่มนวล หลักสูตรฯ มีการพัฒนาส่งเสริมนักศึกษาได้เหมาะสมกับระดับปริญญา โดยมีระบบและกลไกในการให้คำปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ และเปิดโอกาสให้นักศึกษาเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาได้ตามความต้องการของนักศึกษา มีช่องทางการติดต่อและเข้าถึงอาจารย์ที่ปรึกษาได้สะดวกและไม่มีข้อจำกัดสถานที่และเวลา และจัดให้มีโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยขั้นสูงและการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อให้นักศึกษาได้รู้และเข้าใจวิธีวิจัย แหล่งค้นคว้าผลการวิจัยในอดีต และค้นหาแหล่งตีพิมพ์ที่เหมาะสม รวมทั้งการให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะศตวรรษที่ 21 ที่มีความจำเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาทักษะการประเมินผลและการคิดสร้างสรรค์ให้กับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก ซึ่งนับว่าเป็นการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาได้ตรงประเด็น การควบคุมหัวข้อวิจัยมีเป้าหมายที่สนองตอบเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561- 2580) โดยเน้นที่ความสำเร็จในการแข่งขันของผู้ประกอบการรายใหม่ 
      โดยในปีการศึกษา 2565 ได้ปรับกระบวนการส่งเสริมพัฒนานักศึกษา โดยเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ซึ่งเป็นวิธีวิจัยที่อยู่ในความสนใจปัจจุบัน ส่งผลให้นักศึกษามีผลงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา โดยตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และ SJR จำนวน 4 เรื่อง  
ผศ.ดร.กานต์ หลักสูตรมีการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมนักศึกษาทุกปี
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
ระบบและกลไกการส่งเสริมพัฒนานักศึกษา ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประสิทธิผล
แนวทางเสริม
ในการดำเนินงานปีต่อไป ขอให้หลักสูตรกำหนดเป้าหมายการส่งเสริมพัฒนานักศึกษา โดยจำแนกเป็นด้านๆ เช่น ทักษะหรือความสามารถของนักศึกษาในด้านต่อไปนี้ การสืบค้นผลการวิจัยในอดีตที่สนใจ การกำหนดขอบเขตหัวข้อวิจัยที่สนใจ การพัฒนาหัวข้อและโครงร่างวิจัย เป็นต้น เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลการส่งเสริมพัฒนาได้อย่างชัดเจนเป็นสัดส่วนของนักศึกษาในหลักสูตรแต่ละชั้นปี และนำไปสู่การปรับปรุงการดำเนินงาน 
ผศ.ดร.กานต์
 แนะนำให้ควรมีการเชื่อมโยงว่าในปีการศึกษา 2565 มีการประเมินและปรับปรุงกลไกอย่างไรบ้าง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
 ทางหลักสูตร เน้นทักษะดิจิทัล โดยส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาเข้าอบรมเชิงปฏิบัติหลายหัวข้อในปีการศึกษา 2565 รวมทั้งการอนุญาตให้เข้าเรียนร่วมกับนักศึกษาปริญญาโท ในรายวิชาที่มีวัตถุประสงค์พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้กับนักศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จาย
แนวทางเสริม
การดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรมีเป้าหมายหรือตัวชี้วัดผลลัพธ์ เพื่อให้ทางหลักสูตรสามารถติดตามประเมินผลได้อย่างชัดเจน และเป็นข้อดีที่จะช่วยให้หลักสูตรมีแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานในส่วนนี้อีกด้วย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
หลักสูตรมีผลงานเชิงประจักษ์ ที่สะท้อนถึงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านการสร้างผลงานวิจัย 
แนวทางเสริม
เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมเข้าสู่การบริหารหลักสูตร OBE หลักสูตรควรจะติดตามผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังจากนักศึกษาได้มีผลงานวิจัยเชิงประจักษ์ เช่น การนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาธุรกิจ หรือปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานธุรกิจ หรือการให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่หรือมือใหม่ เป็นต้น 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1. ขอเอกสารสรุปผลการดำเนินงานโครงการ "โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยขั้นสูงและการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย"  รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ที่มุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษาที่จัดขึ้นในปีการศึกษา 2565 ทั้งหมด
2. รายงานการประชุมคณะกรรมการหลักสูตร ที่มีวาระการประชุมเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมหรือโครงการพัฒนานักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2564 เป็นหลักสูตร 3 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2566)

จำนวนปีการศึกษายังไม่ครบ 3 ปี จึงยังไม่ต้องประเมิน

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการประเมินกระบวนการและปรับปรุงกระบวนการด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ซึ่งผลจากการปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ทำให้มีแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ และสามารถตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐาน Scopus 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จุดที่ควรพัฒนา
 ควรจัดให้มีการวิเคราะห์อัตรากำลัง เพื่อให้หลักสูตรได้เตรียมสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ประจำ ในจำนวนที่เหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาที่มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ภาระงานสอน 18 หน่วยกิต
-ขอให้ปรับการรายงาน มีการส่งเสริมให้อาจารย์เข้ารับการอบรมในเรื่องใด แล้วมีเป้าหมาย มีการวางแผนเพื่อส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมอบรมในประเด็นใดเพื่อนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาในประเด็นใด เช่น นำความรู้ที่ได้มาพัฒนาการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่นักศึกษา
-ขอให้เพิ่มการรายงาน ในประเด็นในปีการศึกษา 2565 ยังไม่มีอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ แต่ทางหลักสูตรได้มีการวางแผนสนับสนุนให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการอย่างไร
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จุดที่ควรพัฒนา
ควรมีแผนพัฒนาส่งเสริมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน และครอบคลุมความต้องการหรือความจำเป็นในการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของหลักสูตร 

-อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านเมื่อเข้ารับการอบรมแล้วได้รับใบประกาศจากหน่วยงานที่จัดอบรม แล้วนำมาใช้ในการพัฒนานักศึกษาอย่างไร  
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1. เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงแผนหรือแนวทางการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
2. เอกสารที่แสดงถึงภาระงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้งในส่วนของภาระงานสอน ภาระงานการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 0
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 100.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 2 22 25 5
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 39.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 999.99
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ด้วยผลงานส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดเป็นผลงานวิจัยของนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาโท และแหล่งตีพิมพ์เป็นวารสาร TCI 1 ที่เดียวกัน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจึงยังคงไม่มีผลงานของตนเอง ดังนั้น หากเป็นไปได้ขอให้ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวางเป้าหมายในการผลิตผลงานวิชาการของตนเอง เพิ่มเติมจากผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาโท
4.2.4 จำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนยืนยัน
[ฐานข้อมูล]
ผลการประเมิน
กรรมการ
TCI SCOPUS
[1] จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง 0 13 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร [1] / [2] 4.33
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] x 5 / 2.5 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในการรายงานควรแสดงผลการตรวจสอบการอ้างอิงประกอบการสรุปข้อมูลเป็นตาราง 
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา
  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 2.5 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 3.0 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 0.25 ขึ้นไป
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

5
4
80.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
โครงสร้างหลักสูตรมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร  โดยมีระบบและกลไกการพัฒนารายวิชาและสาระรายวิชาที่ตรงกับความต้องการของผู้เรียนและตลาด มีความชัดเจนที่จะนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาสื่อสังคม ซึ่งในปัจจุบันมีความสำคัญมากต่อการทำธุรกิจ จึงนับว่ามีความทันสมัย นอกจากนี้หลักสูตรยังได้กำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 ด้าน และเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ผู้เรียนที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการอุดมศึกษา ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1) บุคคลผู้เรียนรู้ นักศึกษาสามารถเรียนรู้วิธีการสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ ฐานข้อมูลต่างประเทศ เพื่อสืบค้น อ่าน บทความต่างประเทศ สังเคราะห์จนมาเป็นหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ที่ตอบสนองความต้องการของสังคมไทยและตลาดโลก และเรียนรู้เกี่ยวกับการตลาดออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา 2) ผู้ร่วมสร้างนวัตกรรม จากการที่ได้เรียนรู้กับนักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสังคม เกี่ยวกับการผลิตสื่อทางสื่อสังคมได้ หรือสร้างองค์ความรู้ ได้แก่ การตัดต่อ VDO บนโทรศัพท์เครื่องเดียวก็เฟี้ยวได้, การสร้างเหรียญดิจิทัล สร้าง อาชีพด้วย NFT, การ Creative With Canva เปลี่ยนมือใหม่ ให้เป็นมือโปร สอนใช้ Canva ให้เป็นมืออาชีพ ด้วยเทคนิคพิชิตใจลูกค้า, การ Live Streaming โดยใช้ OBS Studio เป็นตัวช่วยให้การ Live Streaming ให้งานขายออนไลน์ หรืองานสอนออนไลน์ของคุณมีประสิทธิภาพ 3) ผู้มีความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง นักศึกษามีแนวคิดเกี่ยวกับการทำวิจัยที่สามารถนำมาใช้ในวิชาชีพของตนเอง และเพื่อสังคมให้นำไปใช้ได้จริง   
    การติดตามผลการเรียนรู้พิจารณาจากผลงานเชิงประจักษ์ของนักศึกษาในหลักสูตร ที่สะท้อนกลยุทธ์ต่างๆ ในการพัฒนาสื่อสังคม การปรับปรุงเนื้อหาสาระรายวิชาเกิดขึ้นตลอดเวลาหลักสูตรเพื่อก้าวทันเทคโนโลยี รวมทั้งการให้คำปรึกษา การควบคุมและอนุม้ติหัวข้อวิจัย ทำให้มีผลงานเชิงประจักษ์ของนักศึกษาในหลักสูตร
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
หลักสูตรตรงกับความต้องการตลาดหรือผู้เรียน มีความทันสมัย และมุ่งเน้นการสร้างผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจให้กับกิจการ หรือผลิตภัณฑ์และบริการ
แนวทางเสริม 
การติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และหลักการต่างๆ เกี่ยวกับการพัฒนาความยังยืนของการดำเนินธุรกิจ เพื่อนำมาปรับปรุงหลักสูตรให้มีความท้นสม้ยมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ความคิดเห็น
การดำเนินงานหลักสูตรในปี 2565 เน้นการพัฒนาหัวข้อและโครงร่างวิจัย โดยการบูรณาการกิจกรรมการนำเสนอหัวข้อและโครงร่างวิจัยลงในรายวิชา  
จุดที่ควรพัฒนา
ควรติดตามทิศทางการพัฒนาความยั่งยืนของการดำเนินธุรกิจ ซึ่งเป็นประเด็นสำคัญที่ผู้บริหารระดับสูง หรือผู้ประกอบการให้ความสำคัญ การสร้างสื่อสังคมที่ก่อให้เกิดความตระหนักรู้ในเรื่องความยั่งยืน อาจทำให้เรื่องราวเหล่านี้เข้าถึงประชาชน และธุรกิจได้กว้างขวาง โดยใช้ Influencer หรือสื่อสังคมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสังคม และให้ความร่วมมือในการรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ หลักสูตรควรนำประเด็นเหล่านี้ในการพัฒนาหัวข้อและโครงร่างวิจัย
-นำข้อมูลการปรับปรุงรายวิชาที่รายงานในตารางมาขยายความรายงานในประเด็นนี้เพิ่มเติม แล้วเกิดผลลัพธ์ในปีการศึกษา 2565 อย่างไร 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1. รายละเอียดหลักสูตร 
2. รายงานการประชุมที่มีวาระการประชุมเกี่ยวกับการปรับปรุงเนื้อหาสาระรายวิชาให้ทันสม้ย หรือเอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้มีการปรับปรุงรายวิชาจากการสอนครั้งที่ผ่านมา ด้วยเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงในศาสตร์สาขา หรือศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
3. รายงานการดำเนินงานโครงการเตรียมความพร้อมก่อนเรียน 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีระบบและกลไกในการจัดการเรียนการสอน ที่มุ่งให้นักศึกษาพัฒนาหัวข้อและโครงร่างวิจัยได้ในปีการศึกษาแรก โดยอาจารย์ที่ปรึกษาซึ่งเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ดูแลให้คำปรึกษาอย่างดี มีการใช้กลยุทธ์เพื่อนช่วยเพื่อน ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้กับนักศึกษามีกำลังใจในการผลิตผลงานเพื่อให้สำเร็จการศึกษา นอกจากนี้หลักสูตรยังได้สรรหาและเรียนเชิญอาจารย์พิเศษและผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันการศึกษาอื่น ที่มีชื่อเสียงและประสบการณ์ด้านการวิจัย และสถิติขั้นสูง มาช่วยสอนในรายวิชาวิธีวิทยาการวิจัย และเป็นกรรมการสอบหัวข้อและโครงร่างวิจัย ทำให้นักศึกษาที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2565 สามารถพัฒนาหัวข้อและโครงการ และสอบเปิดเล่มได้ในปีการศึกษาแรก เช่นเดียวกับปีการศึกษา 2564 ที่ผ่านมา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกในการอนุมัติหัวข้อที่มีประสิทธิภาพ สามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็วและมีคุณภาพ มีความเป็นไปได้ที่นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบและกลไกการควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ ช่วยให้หัวข้อวิจัยของนักศึกษาที่เสนอมีความสอดคล้องกับสาขาวิชา และนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์กรทั้งภาคธุรกิจและภาครัฐ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หัวข้อวิจัยเกือบทั้งหมดจะมีความคล้ายคลึงกัน ควรเพิ่มความหลากหลายประเด็นการวิจัย เพื่อขยายองค์ความรู้ที่สามารถพัฒนาต่อไปเป็นทฤษฏีใหม่ในยุคอนาคต
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1.รายงานผลการดำเนินงานโครงการเตรียมความพร้อมในการเขียนงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในฐานระดับนานาชาติ
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ และอาจารย์ที่ปรึกษา
3.กำหนดการสอบเปิดเล่ม
4.ประกาศผลการสอบเปิดเล่ม
5.มคอ.3, 4 ของปีปัจจุบันและปีก่อน

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
 ไม่มี
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรใช้เกณฑ์ใดในการประเมินดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษา ผลการประเมินเป็นอย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1.จากการรายงาน พบว่า ไม่มีการกล่าวถึงเกณฑ์การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งระดับรายวิชา และวิทยานิพนธ์  ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร  และการเชื่อมโยงไปยังผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน
2.รายงานผลการดำเนินการสอน มคอ.5 ของทุกรายวิชาที่เปิดสอนรวมทั้ง วิทยานิพนธ์
3.ระบบและกลไกการทวนสอบ รายงานผลการทวนสอบ
การรายงานผลการดำเนินงานตัวบ่งชี้ 5.3  ไม่มีในส่วนของการปรับปรุงผลการดำเนินงานและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานการประชุมของคณะกรรมการหลักสูตร ทุกฉบับตลอดปีการศึกษา 2565 ในวาระที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานของหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายละเอียดหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เอกสาร มคอ.3, มคอ.4 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
มคอ.5, มคอ.6
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานผลการทวนสอบ
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอปรับวิธีการรายงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้ระบุในรายงาน มคอ. 7  ปีการศึกษา 2565  เกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การพัฒนาตนเองของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในปีนี้ส่วนใหญ่เน้นในหัวข้อจริยธรรมการวิจัยในคน ในปีต่อไปขอให้เพิ่มเติมองค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ประกาศรายวิชาที่เปิดสอน หรือรายงานการประชุมที่มีวาระการประชุมเกี่ยวกับรายวิชาที่เปิดสอน เปรียบเทียบกับแผนการเรียนในหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนรายวิชา และรายชื่ออาจารย์ประจำ ปีการศึกษา 2565 จากระบบ EV 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานผลการสำรวจความต้องการและความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุุนการเรียนรู้ที่ทางหลักสูตรจัดให้
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 12 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 12
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานผลสำรวจความต้องการและความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ รวมทั้งการใช้ประโยชน์
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. โครงสร้างหลักสูตรมีความสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และมีการปรับปรุงเนื้อหาสาระรายวิชาให้ท้นต่อการเปลี่ยนแปลง และความต้องการของผู้เรียน นอกจากนี้มีกลยุทธ์ในการสร้างแรงจูงใจ ความมั่นใจให้กับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้มีผู้สนใจศึกษาเป็นจำนวนมากต่อเนื่องทุกปี และผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนอย่างชัดเจน
  2. การจัดระบบและกลไกการเตรียมความพร้อมก่อนเรียน ระบบและกลไกของการควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ การให้คำปรึกษาในการทำวิทยานิพนธ์ แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการทำวิจัยและการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง อย่างต่อเนื่อง
  3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตร มีความร่วมมือในการทำงานอย่างเข้มแข็ง มีความสามัคคี และมุ่งสู่เป้าหมายในการพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในการศึกษา และสำเร็จการศึกษาภายในเวลาหลักสูตร
  4. แนวทางเสริม ควรขยายประเด็นการศึกษาวิจัยให้กว้างขวาง และมุ่งเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ เช่น การนำผลการวิจัยไปใช้ในการจัดบริการวิชาการให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ การพัฒนาองค์การอย่างยั่งยืน เป็นต้น

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ควรมีแผนการพัฒนาตนเอง ในด้านการผลิต ผลงานวิจัยที่นอกเหนือจากผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาในหลักสูตร และในด้านอื่นๆ เช่น การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น
  2. จะต้องมีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการหรือกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมนักศึกษา ที่หลักสูตรดำเนินการในรูปแบบต่างๆ ทั้งการสอดแทรกเข้าไปในการสอนรายวิชา การให้นักศึกษาเข้าร่วมสัมมนาที่จัดให้กับบุคคลภายนอก หรือกิจกรรมที่ทางหลักสูตรจัดเอง เพื่อให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  3. การจัดหาสิ่งสนับสนุนที่นักศึกษาต้องการ ตามความจำเป็นในการศึกษาเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นหลักสูตรควรมีการสำรวจความต้องการและติดตามผลในมิติของการใช้ประโยชน์ เพิ่มเติมจากการประเมินความพึงพอใจ
  4. ควรมีการติดตามประเมินผลการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตามเป้าหมายของหลักสูตรที่มุ่งตอบสนองแผนพัฒนาชาติ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 N/A
2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา N/A
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ N/A
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [10 ตัวบ่งชี้] 4.10

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 1 - - 5.00 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
3 2 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
4 2 4.50 - - 4.50 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 4.20 3.75 5.00 4.10 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก