รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสร้างสรรค์คอนเทนต์ดิจิทัล

วันที่ประเมิน: 17 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
กรรมการทุกท่าน มีการระบุคุณสมบัติของอาจารย์ที่มีคุณวุฒิตรงทุกท่าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์นรากร อาจารย์ผู้รับผิดชอบทุกท่านมีคุณวุฒิและคุณสมบัติที่สัมพันธ์กับสาขาวิชา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
กรรมการทุกท่าน ครบถ้วนตรงตามเกณฑ์
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์นรากร อาจารย์ผู้สอน (นอกเหนือจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร) มีความเชี่ยวชาญและมีคุณวุฒิตรงกับวิชาที่รับผิดชอบ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์นรากร มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาทุกๆ 5 ปี จากรายงานมีการปรับปรุงครั้งแรกหลังจากดำเเนินการสอนประมาณ 3 ปี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (0 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ N/A คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.ชวพร หลักสูตรมีระบบและกลไกการรับนักศึกษาที่นำมาปฏิบัติจนผลออกมาเป็นรูปธรรม โดยมีกิจกรรมที่โดดเด่นที่สามารถส่งเสริมอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาได้ดี
ผศ.ดร.ชัชญา จำนวนนักศึกษาใหม่มีเพิ่มมากขึ้น และมีระบบกลไกในการรับนักศึกษาที่ดี
อาจารย์นรากร มีกลไกในการดำเนินงานและส่งผลเป็นรูปธรรม คือ จำนวนนักศึกษาในสาขาที่เพิ่มมากขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีแนวทางการรับนักศึกษาที่ดี หากมีการระบุถึงอัตลักษณ์ที่ต้องการของนักศึกษาที่จะเข้ามาเรียนในหลักสูตรจะช่วยให้โดดเด่นขึ้น
อาจารย์นรากร มีการให้รายละเอียดหลักสูตรเพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจในการเข้าศึกษาต่อ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชวพร หลักสูตรมีความโดดเด่นในการจัดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา
ผศ.ดร.ชัชญา หลักสูตรมีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ที่หลากหลาย ช่วยให้นักศึกษาสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่และพร้อมเรียนรู้ได้ดีขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.ชวพร หลักสูตรมีระบบกลไกในการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา และมีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้วยกิจกรรมต่างๆ ที่หลากหลาย
ผศ.ดร.ชัชญา หลักสูตรมีแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ตั้งแต่การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาและแนะแนวผ่านระบบอาจารย์ที่ปรึกษา มีกิจกรรมที่หลากหลายในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยทุกตัวบ่งชี้มีผลการประเมินกระบวนการที่ชัดเจน
อาจารย์นรากร มีการสร้างสรรค์กิจกรรมที่มีนักศึกษาเป็นศูนย์กลาง รวมไปถึงการร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพภายนอก ส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชวพร หลักสูตรมีระบบกลไล และนำไปสู่การปฏิบัติทั้งในด้านการวางระบบอาจารย์ที่ปรึกษา และมีโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาทั้งที่เป็นโครงการภายใน และร่วมกับหน่วยงานภายนอก
ผศ.ดร.ชัชญา มีการกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้คำปรึกษาเชิงวิชาการและแนะแนวนักศึกษาอย่างเป็นระบบ
อาจารย์นรากร มอบหมายให้อาจารย์ในสาขาดูแลให้คำปรึกษาใน 2 ลักษณะ คือ การดูแลในเรื่องการเรียนตลอดระยะเวลาการศึกษาจนจบหลักสูตร และอาจารย์ที่ให้คำปรึกษาในแนวทางการฝึกงานวิชาชีพ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชวพร มีโครงการที่สอดแทรกการพัฒนาทักษะด้านการรู้เท่าทันดิจิทัล และส่งเสริมใช้นำใช้ในการบริการสังคมได้
ผศ.ดร.ชัชญา มีกิจกรรมที่หลากหลายที่สะท้อนทักษะต่างๆ ในศตวรรษที่ 21

อาจารย์นรากร นักศึกษาได้ประสบการณ์จากการทำกิจกรรมที่ควบคู่ไปกับการเรียน ซึ่งเป็นการบูรณาการทางการเรียนและกิจกรรมและทำให้นักศึกษาสามารถนำสิ่งที่เป็นการเรียนเชิงวิชาการมาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชวพร มีกิจกรรมทั้งในและนอกหลักสูตรที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และมีผลการดำเนินงานที่เห็นเป็นรูปธรรมจากการที่นักศึกษาได้เข้าร่วมโครงการและได้รับรางวัลต่างๆ 
ผศ.ดร.ชัชญา มีการพัฒนาส่งเสริมนักศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะงานสร้างสรรค์การันตีด้วยรางวัลที่หลากหลาย 
อาจารย์นรากร มีการสอดแทรกงานทางด้านสร้างสรรค์ไปในรายวิชาต่างๆ และผลักดันให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานเข้าประกวดในเวทีวิชาชีพ เพื่อสร้างการเรียนรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติจริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.ชัชญา ควรเขียนรายงานในลักษณะการสร้างระบบและกลไกขึ้นมา แล้วนำไปปฎิบัติจนเกิดผล อีกทั้งควรสะท้อนประเด็นเรื่องตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2564 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2567)

จำนวนปีการศึกษายังไม่ครบ 3 ปี จึงยังไม่ต้องประเมิน

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.ชวพร มีอาจารย์ที่พัฒนาคุณวุฒิปริญญาเอก เพิ่ม 2 ท่าน
ผศ.ดร.ชัชญา มีระบบในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ใหม่ รวมถึงแผนการพัฒนาอาจารย์ โดยมีผลชัดเจน
อาจารย์นรากร มีการเตรียมอัตราอาจารย์ที่เหมาะสม ทั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีระบบการรับที่ชัดเจน
อาจารย์นรากร มีระบบการแต่งตั้งอาจารย์ใหม่และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นไปตามแนวทางของมหาวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.ชัชญา หลักสูตรควรกำหนดทักษะเฉพาะที่หลักสูตรต้องการ สำหรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยสอดคล้องกับเนื้อหาของหลักสูตร
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีการบริหารอาจารย์ 
อาจารย์นรากร ส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ตามแนวทางแผนพัฒนาตนเองทั้งในด้านการศึกษาต่อและการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชวพร มีอาจารย์ที่พัฒนาคุณวุฒิปริญญาเอก เพิ่ม 2 ท่าน ผศ.ดร.สมเกียรติ รุ่งเรืองวิริยะ และ ดร.อรรถยา สุนทรายน
ผศ.ดร.ชัชญา มีการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ จนสำเร็จการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
อาจารย์นรากร ผลักดันให้อาจารย์ในสาขาสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการและการสร้างสรรค์ผลงานด้านอื่นๆ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.ชัชญา ควรเพิ่มเติมนำสิ่งที่ได้อบรมไปปรับปรุงคุณภาพในด้านใดบ้าง เช่น พัฒนาเนื้อหารายวิชาอื่นๆ อีกทั้ง พยายามเขียนรายงานให้สะท้อนการสร้างระบบกลไกของหลักสูตรว่ากำหนดไว้ว่าอย่างไร 
-ขอให้เพิ่มเติมการรายงานระบบกลไกของหลักสูตรในการส่งเสริมให้อาจารย์ศึกษาและสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นรากร เป็นสาขาที่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีวุฒิการศึกษาสูง และดำรงตำแหน่งทางวิชาการในสัดส่วนที่มาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 4
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นรากร มีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการในสัดส่วนที่สูงมาก 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 3 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 3
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 96.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.ชวพร ผลงานสร้างสรรค์ตอนประเมินบุคลากรมีค่าถ่วงน้ำหน้ก 0.8 ดังนั้น ใช้ 1.0 หรือ 0.8
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

11
11
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

ผศ.ดร.ชัชญา หลักสูตรมีระบบและกลไกในการปรับปรุงหลักสูตรและสาระรายวิชาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และปรับให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม

ผศ.ดร.ชัชญา หลักสูตรสร้างกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติควบคู่ไปกับการศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีของผู้ประกอบการ หรือบุคคลที่ประสบความสำเร็จในอุตสาหกรรมสื่อดิจิทัลรวมไปถึงการสร้างการเรียนรู้ให้เชื่อมโยงกับสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจบริบทการทำงานจริง และเรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากผู้เชี่ยวชาญในวงการ
อาจารย์นรากร การผลักดันให้นักศึกษาเน้นการปฏิบัติ เพื่อนำไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ โดยมีการร่วมมือกับนักวิชาชีพจากองค์กรต่างๆ

ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
อาจารย์นรากร มีการปรับปรุงเนื้อหาโดยมุ่งเน้นการเปลี่ยนภูมิทัศน์จากสื่อเดิมไปสู่ดิจิทัล เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาในการเป็นผู้ประกอบการด้านการสื่อสารดิจิทัล รวมถึงการเข้าสู่วิชาชีพด้านดิจิทัล

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.ชวพร Digital Disruption เป็นความท้าทายหลักของหลักสูตรนี้ ควรปรับปรุงเนื้อหารายวิชาโดยการสอดแทรกการใช้เครื่องมือ (tool) ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเข้าใจผู้รับสารและประเมิน Feedback ของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้การสร้างสรรค์คอนเทนต์ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มตรงกับความต้องการของผู้เรียน
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้านสอดคล้องกับความต้องการของหลักสูตร
อาจารย์นรากร เป็นการมุ่งให้นักศึกษามีความพร้อมในด้านคุณธรรมจริยธรรม ให้มีความรอบรู้ด้วยการเรียนรู้และสร้างสรรค์ เพื่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.ชวพร มีระบบกลไกในการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
ผศ.ดร.ชัชญา หลักสูตรมีระบบและกลไกในการกำหนดผู้สอน การจัดทำแผนการเรียนรู้ และการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยอย่างเป็นรูปธรรม
อาจารย์นรากร หลักสูตรมีระบบในการกำกับ ติดตามและตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีระบบกลไกในการกำหนดผู้สอนชัดเจน
อาจารย์นรากร มีการพิจารณาร่วมกันของอาจารย์ในสาขาในการพิจารณาเนื้อหารายวิชาตามความเหมาะสมกับอาจารย์แต่ละท่าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
กรรมการทุกท่าน มีการกำกับและติดตามทำให้มีการจัดทำ มคอ.3 และมคอ.4 ครบถ้วน ตามกำหนดระยะเวลา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีการบูรณาการรายวิชาตามประเด็นที่เกี่ยวข้องชัดเจน และมีผลเป็นรูปธรรม
อาจารย์นรากร มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับการวิจัย และดำเนินโครงการให้กับชุมชน เพื่อสร้างกิจกรรมชุมชมสัมพันธ์ ในจังหวัดปทุมธานี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.ชัชญา หลักสูตรมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร รวมทั้งการทวนสอบผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีกรอบการประเมินที่ชัดเจน หากใส่ค่าเฉลี่ย การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) มาด้วยจะเห็นผลการดำเนินงานที่ชัดเจนขึ้น
อาจารย์นรากร มีการสร้างผลลัพธ์ 3 ด้าน ให้กับผู้เรียนผ่านทางรายวิชาต่างๆ โดยจะเป็นในลักษณะ Project Base Learning ทำให้ผลลัพธ์ที่ได้มีความต่อเนื่องและนักศึกษากับอาจารย์ร่วมกันสร้างสรรค์กิจกรรมและโครงงานร่วมกัน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชัชญา มีการทวนสอบนักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
อาจารย์นรากร มีการประเมินผลตามแนวทาง มคอ.3 ที่ได้ระบุไว้ในแต่ละรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นรากร มีการกำหนดให้อาจารย์ประเมินการจัดการเรียนการสอน โดยรายงานเมื่อสิ้นสุดแต่ละภาคการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ชวพร (รายงาน 4.00 คะแนน) หลักสูตรมีระบบการสนับสนุนการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน และการสร้างสรรค์ผลงานทั้งนอกวิชาเรียน มีการประเมินความพึงพอใจ และนำผลการประเมินมาใช้ในการวางแผนการจัดสรรทรัพยาการ
ควรรายงานเพิ่มเติมโดยเชื่อมโยงกับการใช้สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้กับโครงการที่นักศึกษาได้รางวัล เพื่อให้เห็นผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม
อาจารย์นรากร
 อาจารย์ผู้รับผิดชอบเป็นผู้ประเมินและเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนทั้งในภาคปฏิบัติการและวัสดุภายในการเรียนภาคทฤษฏี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นรากร มีศูนย์สนับสนุนการเรียนการสอนและการอำนวยความสะดวกในด้านสถานที่ที่ไม่จำกัดในด้านเวลา เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยได้อย่างเต็มที่นอกเหนือไปจากการเรียนการสอนในห้องเรียน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นรากร การนำการประเมินผลจากนักศึกษามาปรับปรุงแก้ไข
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. มีระบบและกลไกในการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่อย่างโดดเด่นผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่หลากหลายส่งผลให้นักศึกษาเกิดการปรับตัวในการเรียนรู้ได้ดี
  2. มีระบบและไกในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยเฉพาะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผ่านทักษะต่าง ๆ ที่มีความจำเป็น ทั้ง media literacy ,career skills และ life skills
  3. เนื่องจากเป็นสาขาที่พัฒนาการศาสตร์ในด้านสื่อสารมวลชน โดยมุ่งเน้นการนำเสนอเรื่องราวเหตุการณ์ในสังคม มาสู่การสร้างสรรค์เนื้อหาที่นอกเหนือไปจากบทบาทของการเป็นผู้บอกเล่า และมีการปรับเปลี่ยนลักษณะของพื้นที่สื่อไปเป็นรูปแบบดิจิทัล ทำให้นักศึกษาสามารถที่จะเรียนรู้และปรับตัวเพื่อต่อยอดไปในวิชาชีพต่อไป
  4. มีคณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก และมีตำแหน่งวิชาการ รวมทั้งมีผลงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์
  5. มีความโดดเด่นในเรื่องการวางระบบและกลไกการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา โดยมีการนำมาปฏิบัติในรูปแบบกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถช่วยรักษาอัตราการคงอยู่ และพัฒนาศักยภาพนักศึกษาได้

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรรักษาอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้คงที่
  2. จากความท้าทายเกี่ยวกับ Digital Disruption ทำให้หลักสูตรควรคำนึงการในการปรับปรุงเนื้อหาให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนให้ทันต่อสถานการการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี หลักสูตรควร ปรับปรุงเนื้อหาให้ครอบคลุมไปถึง การใช้ tool ต่าง ๆ ในการทำความเข้าใจผู้บริโภคหรือประเมินผลการตอบรับของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้มีความครอบคลุมมากขึ้น
  3. เสนอให้มีการบูรณาการร่วมกับวิชาในสาขาอื่น เพื่อสร้างความเป็นองค์ความรู้รวม ด้วยการเรียนการสอนแบบ Project Base Learning

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 N/A
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี N/A
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา N/A
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ N/A
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [9 ตัวบ่งชี้] 3.56

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 0 - - 0.00 0.00 N/A
3 2 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 2 4.50 - - 4.50 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.60 3.50 0.00 3.56 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี N/A