รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกําลังกายและสมรรถภาพทางการกีฬา

วันที่ประเมิน: 30 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
พิ่มข้อความ "จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 คน เป็นไปตามเกณฑ์การมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 และเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรในปีการศึกษา 2565 มีรายชื่อดังนี้"

*** หมายเหตุ  ตารางขวางตั้งแต่หน้าที่ 5-6 อาจารนย์ผู้รับชอบหลักสูตรสิอนด้วยหรือไม่ ถ้าสอนให้ทำเครื่องหมาย / ในช่อง อาจารนย์ผู้สอนด้วย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
วกฬ.1.1.01 มคอ.2 ต่างกับ วกฬ.1.1.05 มคอ.2 อย่างไร  เอกสารเล่มเดิมใช้รหัสเดิมไดในการอ้างอิงประเด็นต่อไป ปรับให้เป็น วกฬ.1.1.01 มคอ.2  รหัสเดียว
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบถ้วน 

*** ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานวิชาการ ควรดำเนินการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
*** งานวิจัยบางชื้นของ ดร.เบญจรักษณ์ เกิน 5 ปี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
"มีจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 คน เป็นไปตามเกณฑ์การมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 และเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรในปีการศึกษา 2565"
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 5 คนเป็นอาจารย์ผู้สอนด้วยหรือไม่ ถ้าเป็นให้ใส่ชื่อในหัวข้อนี้ด้วย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เป็นหลักสูตรใหม่ ฉบับ 2565  ซึ่งเริ่มใช้ในปีที่รับการประเมิน ปี 2565 นี้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (0 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ N/A คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เสนอแนะให้เขียนเป็นกระบวนการ ทั้ง 2 ช่องทาง ที่เปิดรับ บางหัวข้อใช้ร่วมกันได้
ระบบและกลไก เช่น 
-แต่งตั้งคณะกรรมการรับนักศึกษา
-คณะกรรมการร่วมกำหนดคุณสมบัติผู้เข้าศึกษา โดยนำมาจาก มคอ.2 
การนำกลไกไปปฏิบัติ เช่น
-รับตรง กำหนดใครในคณะกรรมการหรือ เจ้าหน้าที่ ให้ชัดเจน ว่าใครปฏิบัติส่วนนี้ร่วมกับใมหาวิทยาลัย ทำอะไร เช่น ไปร่วมรับนศงกับสำนักรับตั้งแต่วันที่.....ถึงวันที่....
-รับระบบกลาง ใครเป็นผู้ประสานงานในส่วนนี้ ...
ผลการปฏิบัติ เช่น 
-รับตรง  ได้จำนวนเท่าไร
-รับระบบกลาง ได้จำนวนเท่าไร
ประเมินผลการปฏิบัติ
-รับตรง และรับส่วนกลาง ให้ผู้ที่ไปทำหน้าที่ประเมินว่าระบบการรับของมหาวิทยาลัย หรือส่วนกลาง  ดีหรือไม่เหมาะสมอย่างไร ที่ดี ด้วยเหตุผลอะไร ที่ยังไม่เหมาะสม ด้วยเหตุผลอะไร 
ผลการประเมินที่นำไปใช้ในปีต่อไป เช่น 
-รับตรง สมมติว่า มีการปฏิบัติที่ดี จะเห็นได้จากจำนวนนศ.ที่เข้ามาก ควรนำวิธีการที่ให้อาจารย์ หรือเจ้าหน้าที่ไปให้คำแนะนำกับนักเรียนที่มาสมัคร   หรือ ยังไม่เหมาะสม เพราะ มีนณงสนใจน้อย ต้องมีการปรับเปลี่ยนอย่างไร ...

**** สำรวจนักศึกษาที่เข้ามาเรียนว่าได้รับรู้การสมัครเรียนจากหนทางใด

*** 1. ควรค้นหาวิธีการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ให้เป็นที่รู้จัก และเป็นทางเลือกสำหรับนักศึกษาที่สนใจ
      2. ควรอธิบายผลที่เกิดขึ้นจากระบบ กลไกและกระบวนการรับนักศึกษา ว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตร (มคอ. 2) หรือไม่ อย่างไร
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- คณะได้มีการนำประวัติการเรียนในชั้นมัธยม (เรียนสายศิลป์) มาเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เขียนแบบกระบวนการ เช่น
ระบบและกลไก 
-แต่งตั้งคณะกรรมการเตรียมความพร้อมฯ (ใครบ้าง..)
-ประชุมร่วมกันเพื่อได้ข้อสรุปว่า ศักยภาพด้านไหนของนศ.ที่ควรมีความพร้อมก่อนเรียน เช่น ความรู้ด้านภาษาอังกฤษ  ความรู้ด้านวิชาการ เคมี ชีว ฟิสิกส์ เป็นต้น เมื่อได้ศักยภาพความพร้อมในด้านใดแล้ว นำไปสร้างแบบสอบถาม หรือ แบบสำรวจ แบบสัมภาษณ์ ฯลฯ
นำไปปฏิบัติ
-เก็บข้อมูลจากนศ.ชั้นปีที่ 1 ที่เข้าปฐมนิเทศโดยใช้เครื่องมือที่เตรียมไว้
-วิเคราะห์ว่านศ.ยังต้องการเตรียมความด้านใดฯ
-จัดการเตรียมความพร้อม เช่น ด้านภาษาอังกฤษ นศ.ที่ยังไม่ถึงเกณฑ์ อาจให้อาจารย์ในหลักสูตรสอนเสริมช่วงเทอม S กำหนดจำนวนชม. ให้เหมาะสม หรือ ด้านวิชาการ จัดเป็นวันทบทวนวิชา 3 วัน เชิญวิทยยากรมาให้ความรู้้ เป็นต้น
ประเมินโครงการ
-นศ.ประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดการเตรียมความพร้อม
-ประเมินความรู้นศ.ที่ได้จากการเข้าร่วมการเตรียมความพร้อม
-อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดการเตรียมความพร้อม
นำผลไปฏิบัติ เช่น  ประเด็นผลออกมาดี เก็บการปฏิบัตินั้นไปทำต่อในปีหน้า ประเด็นออกมาไม่เหมาะสมต้องปรับปรุง เสนอแนะข้อปรับปรุงเพื่อนำไปปรับปรุงเมื่อจัดในปีต่อไป

ควรมีการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการสำหรับก่อนเข้าศึกษาวิชาพื้นฐาน

ควรอธิบายผลที่เกิดขึ้นจากระบบ กลไกและกระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษา ว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และควรปรับปรุงแก้ไขในการดำเนินการครั้งต่อไปอย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
*** ควรอ้างอิง มคอ. 5 รายวิชาที่เปิดสอน เป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากการเตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา 

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีกิจกรรมการให้คำปรึกษาทั้งทางด้านวิชาการและทางด้านจิตใจ มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่ดี 
หลักสูตรมีการกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาให้นักศึกษาอย่างชัดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตัวอย่างการเขียนกระบวนการ
ระบบและกลไก
-หลักสูตรมีการกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการให้กับนักศึกษา/มหาวิทยาลัยแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา
-หลักสูตรกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ โดยควบคุมกำกับให้จำนวนนักศึกษาต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
-คำสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา
การนำไปปฏิบัติ
-ทบทวน และจัดทำแผนการให้คำปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา จัดห้องให้คำปรึกษา กำหนดการพบนักศึกษา และมีตารางการให้คำปรึกษา
-อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำการลงทะเบียนเรียน ให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหาทางการเรียนหรือต้องการความช่วยเหลือด้านอื่นๆ
-ติดตาม ควบคุม และบันทึกผลการให้คำปรึกษาทางวิชาการและการติดตามผลการเรียน และจัดการความเสี่ยงด้านนักศึกษา
ผลการปฏิบัติ
-รายงานผลการติดตามและประเมินผลหลังจากการให้คำปรึกษา
-อาจารย์ที่ปรึกษาปรับปรุงแก้ไขการให้คำปรึกษาเพื่อวางแผนการให้คำปรึกษาในครั้งต่อไป
การประเมิน
-อาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมติดตามการให้คำปรึกษา
-อาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมประเมินผล
-นำข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงตามผลประเมินในปีต่อไป


1. จำนวนครั้งที่กำหนดให้นักศึกษาพบอาจารย์ที่ปรึกษา ภาคละ 1 ครั้งอาจน้อยเกินไป
2. การพบกันระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาได้มีการบันทึกเป็นแฟ้มข้อมูลของนักศึกษาหรือไม่ เพื่อคณะจะได้นำมาวิเคราะห์ปัญหาที่พบ และแนวทางในการป้องกัน ช่วยเหลือและดูแลนักศึกษา เนื่องจากพบว่านักศึกษามีผลการเรียนในแต่ละรายวิชาเป็น D, D+ แลเ F ค่อนข้างมาก
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตัวอย่างการเขียนกระบวนการ
ระบบและกลไก เช่น
-หลักสูตรจัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษาทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมความเป็นพลเมืองที่ดีมีจิตสำนึกสาธารณะและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
-หลักสูตรจัดทำแผนคำของบประมาณที่สอดคล้องกับคณะ/มหาวิทยาลัย
-คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การนำไปปฏิบัติ เช่น
-ทบทวน และจัดทำแผนการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
ของหลักสูตร
-จัดกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาที่หลากหลาย ทั้งในและนอกชั้นเรียนที่ช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21เช่น ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการทำงานอย่างมีส่วนร่วม ฯลฯ
การประเมิน เช่น
-ติดตาม ควบคุม และรายงานผลการจัดกิจกรรมนักศึกษา
-ประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรม และประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมของหลักสูตร
การประเมิน  เช่น
-คณะกรรมการพัฒนาฯประชุมประเมินผล
-นำข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงตามผลประเมินในปีต่อไป


เพิ่มทักษะทางด้าน IT หรือเทคโนโลยีที่ทันสมัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การกีฬา

ควรระบุผลลัพธ์ที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอนรายวิชา PTS 181 ซึ่งเป็นศักยภาพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรระบุไม่มีข้อมูลในข้อนี้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรจัดกิจกรรมหรือมีการนำเสนองานวิจัยที่คณะกำลังดำเนินการ หรือจัดอบรมดูงานเกี่ยวงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์กีฬา

- หลักสูตรสามารถนำกิจกรรม Research day ตามที่อ้างถึง เป็นกิจกรรมในหัวข้อนี้ แต่ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ที่เหมาะสมสำหรับนักศึกษาปี 1 ให้ชัดเจน และวัดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
*** มคอ. 5 รายวิชา RSU111, RSU171, RSU171 เพื่อสรุปว่าผลลัพธ์ที่เกิดจากการเรียนรายวิชาเหล่านี้เป็นอย่างไร

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2565 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2568)

จำนวนปีการศึกษายังไม่ครบ 3 ปี จึงยังไม่ต้องประเมิน

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
พัฒนาระบบการส่งเสริมการขอทุนวิจัยจากภายนอกและภายใน เพื่อกระตุ้นการทำวิจัยของอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- สนับสนุนการศึกษาต่อของอาจารย์เพื่อเพิ่มจำนวนวุฒิปริญญาเอก
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มเติมแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้่าสู่ตำแหน่งวิชาการ ในประเด็น ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ฯ  โดยเขียนเป็น KPI ว่าอาจารย์ที่ละท่านควรขอตำแหน่งในปีการศึกษาใด  โดยมีการสนับสนุนจากคณะฯกำหนดเป็นโครงการที่จะพัฒนาอาจารย์อย่างไรบ้าง และเมื่อดำเนินการโครงการเสร็จสรุปผล PDCA ไว้เป็นหลักฐาน QA ปีต่อไป

- ส่งเสริมการขอทุนวิจัยเพื่อเพิ่มผลงานวิชาการและใช้ในการขอตำแหน่งวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 1 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.80 4.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 16.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 4.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-กำหนดโครงการเพื่อพัฒนาอาจารย์ฯ
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

5
5
100.00
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-คำผิด หน้า 56 บรรทัดที่ 7  "คณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัย  สภามหาวิทยาลัย"
- คำแนะนำ การเขียนอธิบายในหัวข้อตัวบ่งชี้ที่วัดกระบวนการ ประกอบด้วยรายละเอียดของ
ระบบและกลไก (เช่น กำหนดคณะกรรมการสำรวจความต้องการของการเปิดหลักสูตรของกลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการร่างหลักสูตร) วิธีการดำเนินงานตามระบบกลไกที่ตั้งไว้ (ผลการสำรวจฯ  การทำงานของคณะกรรมการร่างหลักสูตร ) ผลการดำเนินงาน (หลักสูตรฯที่มีหน้าตาอย่างไรบ้างจำนวนหน่วยกิตต่างๆ เอส่วนสรุปของหลักสูตรมาใส่ไว้)  ประเมินจุดดี จุดด้อยของระบบและกลไก โดยผู้ใช้งานระบบและกลไก (ควรจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือ อาจารย์ประจำหลักสูตร  ทำให้ได้หลักสูตรที่เป็นอย่างไร อาจจะดูผลจากจำนวนนักศึกษาที่เข้าในหลักสูตร )  นำจุดดีเก็บไว้เพื่อใช้ในปีการศึกษาต่อไป ( ถ้าอาจจารย์ฯหรือนักศึกษาประเมินหลักสูตรในปีแรก มีความต้องการอะไรเพิ่มเติมในหลักสูตร นำผลมาจัดเป็นโครงการเสริมได้ ) นำผลมาจุดด้อยจะปรับปรุงอย่างไร แล้วนำไปใช้ในปีต่อไป ในแนวทางที่ต้องการปรับปรุง (ผลการจัดโครงการเสริม) ประเมินระบบและกลไกซ้ำ

การปรับให้เหมาะสมกับผู้เรียน อาจมีแบบสอบถามผู้เรียนปีที่ผ่านมาเพื่อเป็นแนวทงการปรับปรุง

ควรระบุให้ชัดเจนว่ารายวิชาใดที่หลักสูตรทำความร่วมมือกับสถานประกอบการ
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้เพิ่มเติมเนื้อหาเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มเติมตารางที่กำหนดผลลัพธ์ การเรียนรู้ 3 ด้าน  คอลัมภ์ทางซ้ายมือ เป็นชื่อรายวิชา คอลัม์ขวามือ ใส่ว่ารายวิชานั้น ให้ผลลัพธ์ด้านใด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เขียนในรูปแบบกระบวนการ มีระบบและกลไก----วิธีการดำเนินงานตามระบบกลไกที่ตั้งไว้----ผลการดำเนินงาน------มีการประเมิน -----การปรับปรุง
เช่น 
          ระบบและกลไก (P)
หลักสูตรได้มีการกำหนดผู้สอน  ดังนี้
  1. กรรมการบริหารหลักสูตรฯ กำหนดให้ผู้สอนเป็นผู้มีความถนัดสอนประจำรายวิชาต่างๆ ที่เป็นวิชาบังคับและวิชาเลือกของสาขา เพื่อให้ผู้สอนมีโอกาสพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน รวมถึงพัฒนาเอกสารคำสอนอย่างต่อเนื่องจนถึงขั้นปรับปรุงเป็นตำราได้ ทั้งนี้กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนสอนวิชาบังคับไม่ควรเกิน 4 รายวิชาและวิชาเลือกไม่เกินอีก 2รายวิชา หรือผู้เรียนไม่ควรเรียนกับอาจารย์คนเดิมเกิน 3 รายวิชา
  2. การพิจารณาผู้สอนจะคำนึงถึงความรู้และความชำนาญในเนื้อหาวิชาที่สอน  ผลงานวิชาการของผู้สอน หรือประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชานั้นๆ
  3. ทุกรายวิชาของหลักสูตรฯ จะมีผู้ประสานงานรายวิชาคอยดูแลเรื่องเนื้อหา เอกสารตำรา การเรียนการสอน และการประเมิน การมอบหมายความรับผิดชอบและภาระของผู้ประสานงานรายวิชา กรณีรายวิชาใหม่ (ในกลุ่มวิชาเลือกสาขา) อาจารย์จะได้รับแจ้งให้ทราบอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษาเพื่อเตรียมตัวก่อนรายวิชานั้นๆ จะเปิดสอน
  4. ในกรณีจำเป็นจะมีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาเป็นอาจารย์พิเศษ  หลักสูตรฯ จะให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่อาจารย์โดยเฉพาะในเรื่องของ ข้อบังคับต่างๆ เพื่อให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเป็นไป อย่างราบรื่น รวมถึงอาจกำหนดให้ผู้ประสานงานรายวิชานั้นเข้าไปเรียนรู้จากการสังเกตการณ์การสอนของอาจารย์พิเศษได้

 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตัวอย่างการเขียน
ระบบและกลไก (P)
หัวหน้าหลักสูตรฯ กำหนดให้ผู้ประสานงานรายวิชาทุกคนต้องจัดทำ มคอ.3 โดยใช้ข้อมูลจาก มคอ.5  ของภาคการศึกษาก่อนหน้าประกอบการพิจารณาในกรณีมีการปรับเปลี่ยน อย่างน้อย 30 วันก่อนเปิดภาคการศึกษาและทำการอัพโหลดขึ้นระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัยอย่างช้าที่สุด 2 สัปดาห์หลังเปิดภาคการศึกษา หากเกิดความล่าช้าและมีการทวงถามจากคณะหรือสำนักมาตรฐานวิชาการ หัวหน้าภาควิชาฯ และผู้อำนวยการหลักสูตรฯ จะช่วยดูแลประสานงานแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น

หลักสูตรฯ ได้พิจารณาถึงการเรียนการสอนที่เน้นการวิจัยเป็นฐานและการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานที่นักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกคนควรใช้เพื่อสร้างความรู้ด้วยตนเอง และได้สังเคราะห์ออกมาเป็นหลักการ 4 ข้อต่อไปนี้
            1. ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนด้วยวิธีการกำหนดประเด็นปัญหาหัวข้อเนื้อหามาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
            2.  เปลี่ยนบทบาทผู้สอนจากการเป็นผู้ปฏิบัติเอง เป็นผู้จัดการให้ผู้นักศึกษาปฏิบัติ และเพิ่มบทบาทของนักศึกษา อย่างน้อยควรได้เลือกรูปแบบการเรียน งานที่ได้รับมอบหมาย หรือวิธีการประเมินบางอย่างที่เหมาะสมกับตัวเอง
            3. ใช้ผลการวิจัยประกอบการสอน รวมถึงเทคโนโลยี และสื่อการสอนสมัยใหม่เพื่อให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
            4. เน้นวิธีการสอนที่ให้โอกาสนักศึกษาสร้างความรู้ด้วยตนเอง และการเรียนควรมุ่งที่ ค้นคว้า ฝึกฝนและทำรายงานตามแบบแผนวิจัย

 
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับศิปวัฒนธรรมที่ดีเช่นการทำบุญอาจารย์ใหญ่
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ตัวอย่างแนวทางในการดำเนินการกระบวนการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
ระบบและกลไก
1. แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (ถ้ามี) และคณะกรรมการบริหารคณะฯ (คณบดี หรือรองคณบดี) คำสั่งแต่งตั้งให้ดำเนินการภายใน โดยคณบดีเป็นผู้ลงนามได้
2. จัดการประชุมทวนสอบผลสัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตามประจำปีการศึกษา และทำรายงานการประชุมที่นอกเหนือจากการประชุมสาขาวิชา ซึ่งการจัดประชุมจะกี่ครั้ง ให้ทางหลักสูตรเป็นผู้ทํา

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรระบุผลลัพธ์ของการดำเนินการ และแนวทางการป้องกัน แก้ไข ดูแลและช่วยเหลือ เนื่องจากพบว่าทุกรายวิชา การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้จากเกรด มีนักศึกษาได้ F, D+ และ D ซึ่งทำให้นักศึกษาต้องเรียนซ้ำ หรือได้เกรดเฉลี่ยสะสมต่ำ 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรนำการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 5 รายวิชา และวิเคราะห์สาเหตุในส่วนที่นักศึกษาได้เกรดต่ำกว่า C รวมทั้งระบุแนวทางการดูแล ช่วยเหลือนักศึกษาเป็นรายบุคคล
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่ม "ประชุมในปีการศึกษา 2565 จำนวน....ครั้ง"
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มเติมวิธีการทวนสอบผลสัมฤิทธิ์ อาจใช้วิธีสอบถามรายบุคคล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบอาจารย์พี่เลี้ยงที่ดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานการเข้าอบรม 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
--
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- กรอกข้อมูล ค่าเฉลี่ยผลการประเมินการสอนในหน้าที่ 48

- ต้องใช้ผลการประเมินรายวิชาที่เปิดสอน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 12 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 12
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เสนอแนะเพิ่มเติม  อาจจะนำไปปรับเขียนรวมกับที่เขียนไว้เดิม
ระบบและกลไก
  • หลักสูตรมีการประชุมในแต่ละวาระอยู่แล้ว ในวาระนั้นอาจจะยกประเด็นเรื่องของความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ได้ข้อมูลจากอาจารย์หรือนักศึกษาในหลักสูตร จากการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือ จากแบบสอบถาม
  • รวบรวมรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ต้องการซื้อ ซ่อมแซม บำรุงรักษาในปีการศึกษา 2565 เพื่อจัดทำรายการงบประมาณโดยอาจจะมีแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานให้อ.ผู้รับผิดชอบ เลขาหลักสูตรเป็นกรรมการ หรือกำหนดบุคคลรับผิดชอบ
  • หลักสูตรเสนอของบประมาณจากคณะฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามลำดับขั้น
การนำระบบไปสู่การปฏิบัติ
  • จัดซื้อ จัดจ้าง จัดซ่อมบำรุง ตามรายการที่นำเสนอและได้รับอนุมัติงบประมาณ 
  • คณะกรรมการหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ตรวจสอบรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ต้องการซื้อ ซ่อมแซม บำรุงรักษาที่ได้รับ บันทึกข้อมูลไว้สำหรับการดำเนินงานในปีการศึกษาต่อไป
การประเมินกระบวนการ
  • มีการประเมินกระบวนการว่าการดำเนินการตั้งแต่การตั้งระบบ กลไก จนถึงการนำไปปฏิบัติ ประสบผลสำเร็จอย่างไร มีข้อขัดข้อง หรือไม่เช่น ถ้าทุกอย่างได้ตามที่กำหนดไว้ แสดงว่าระบบ กลไก สามารถนำไปใช้ได้ในปีการศึกษาต่อไป  ถ้ามีข้อขัดข้องในส่วนการประสานงานส่วนไหน จะนำไปปรับปรุงระบบ กลไก หรือ วีการดำเนินในปีต่อไป
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มเติมการปรับปรุงเรื่องอินเตอร์เนตและ wifi ว่าดำเนินการอย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีคณาจารย์ผู้สอนจำนวนมากและมีความรู้ ความเชี่ยวชาญที่หลากหลายสามารถที่จะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการทำปริญยานิพนธ์ได้อย่างไม่มีข้อจำกัด
  2. หลักสูตรมีกระบวนการดูแลนักศึกษาที่ดีมากโดยใช้กิจกรรมต่างๆ
  3. มีกระบวนการพัฒนาอาจารย์ด้านการเรียนการสอนที่ดี
  4. อาจารย์มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์ ควรสนับสนุนให้ขอตำแหน่งทางวิชาการ
  5. เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการด้านสุขภาพของคนในยุคปัจจุบัน ถ้าเพิ่มความร่วมมือกับสถานประกอบการ จะเป็นจุดแข็งของหลักสูตรมากขึ้น

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ด้านสาระหลักสูตร ควรนำเสนอจุดเด่นของหลักสูตรในหัวข้อสาระสำคัญของหลักสูตร เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ เช่น มีรายวิชาที่กำลังอยู่ในกระแสนิยมปัจจุบันด้านสุขภาพ หรือ มีโครงการอบรม โครงการความร่วมมือที่น่าสนใจ เพื่อจะสามารถเลือกรับนักศึกษาได้มากขึ้น
  2. ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร ควรทำแผน KPI การพัฒนาอาจารย์ในการศึกษาต่อ หรือ การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่ชัดเจน และควรสนับสนุนการทำวิจัยและการตีพิมพ์ผลงานวิจัย
  3. เพิ่มคุณวุฒิ และตำแหน่งวิชาการของอาจารย์
  4. ปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามผลการประเมินของนักศึกษา
  5. ควรประเมินผลการเตรียมความพร้อมทางวิชาการสำหรับนักศึกษาที่เรียนสายศิลป์ และปรับปรุงแนวทางในากรดำเนินการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  6. ควรค้นหาปัญหาและอุปสรรคในการเรียนรู้ของนักศึกษา และค้นหาวิธีการดูแลช่วยเหลือ เพื่อไม่ให้นักศึกษามีผลการเรียนเป็น F,D+ และ D

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 N/A
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี N/A
3.1 การรับนักศึกษา 2.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 2.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา N/A
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ N/A
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 2.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 2.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 2.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [9 ตัวบ่งชี้] 2.67

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 0 - - 0.00 0.00 N/A
3 2 2.00 - - 2.00 ระดับคุณภาพน้อย
4 2 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
5 4 2.00 3.00 - 2.75 ระดับคุณภาพปานกลาง
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 2.40 3.00 0.00 2.67 ระดับคุณภาพปานกลาง
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพปานกลาง N/A