รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกําลังกายและสมรรถภาพทางการกีฬา

วันที่ประเมิน: 26 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ชื่อเอกสารใน ระบบ DBS ใช้ หลักฐานว่า  วกฬ.1.1.03 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  แต่หน้า 21 ใช้ วกฬ.1.1.01 มคอ.2 วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและสมรรถภาพทางการกีฬา  วกฬ.1.1.02 รายงานการประชุม ...............
เอกสารย่อย

มคอ.2 วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและสมรรถภาพทางการกีฬา
รายงานการประชุมหลักสูตรวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและสมรรถภาพทางการกีฬา ครั้งที่ 5-2566
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร) 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
ข้อสังเกต  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒสัมพันธ์ 4 คน ใน 5 คน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เพื่มรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่เป็นอาจารย์ด้วยทั้ง 5 ท่าน (ตามเอกสารหน้าที่ 12-13) รวมเป็น 11 คน+ 5 คน 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เพิ่มหลักฐาน ที่แสดงว่าเป็นอาจารย์ผู้สอน 
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เนื่องจากหลักสูตรเป็นหลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ. 2565 ยังไม่ครบรอบการปรับปรุงหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (0 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ N/A คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้น เป็น 30 คน (จากปีที่แล้ว 27 คน) 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มเติม
การประเมินผลของกระบวนการ
ตัวอย่างเพิ่มเติมผลการประเมินมี 2 ส่วน
1.การสำรวจความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อระบบและกลไกที่ใช้ในการรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2566
2.ตารางรายละเอียดจำนวนนักศึกษาที่รับเข้า โดยสำรวจว่าได้ได้รับข้อมูลจากด้านใดบ้าง เช่น บัณฑิตวิทยาลัย เพจคณะ เพจ FB เพื่อนำข้อมูลมาปรับระบบแกละกลไกในการรับนักศึกษาในปีการศึกษาต่อไป

 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ดร.ณัฐ) รายวิชา PTS181 มีกิจกรรมที่หลากหลายในการเตรียมความพร้อมทางวิชาชีพให้กับนักศึกษาก่อนเรียนในวิชาเฉพาะของสาขาได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตัวอย่างเพิ่มเติมผลการประเมินมี 4 ส่วน
1.ผลสำเร็จที่เกิดกับนศ. เช่น โครงการทดสอบระดับเชาว์ปัญญา ทดสอบบุคลิกภาพ
2.ผลสำเร็จเปรียบเทียบแต่ละปีการศึกษา เมื่อหลักสูตรจัดทำโครงการนี้ไปทำซ้ำในรอบปีการศึกษาต่อไป
3.สำรวจความคิดเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีต่อกระบวนการเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ...... เพื่อนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ ถ้าผลสำเร็จนักศึกษาเพิ่มขึ้น สามารถสรุปได้ว่าระบบและกลไกนี้นำไปใช้ในปีการศึกษาต่อไป
4. ความพึงพอใจของนศ.ที่ร่วมโครงการ..................

- (ดร.ณัฐ) พิจารณากิจกรรมที่จัดในภาค S เพื่อการเตรียมความพร้อมตั้งแต่รับนักศึกษาเข้ามาศึกษานอกเหนือจากกิจกรรมปฐมนิเทศ
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีโครงการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษา เช่น ระบบการเฝ้าระวังปัญหาที่จะเกิดขึ้นนศ.ทั้งด้านการเงิน สุขภาพ....
แต่ ข้อสังเกต ยังมีจำนวนนศ. ที่ออกจากหลักสูตรเมื่อสิ้นปีที่  1 ในอัตราร้อยละที่สูงอยู่ (30 คน ออก 6 คน )

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ดร.ณัฐ) มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและมีเป้าหมายในแต่ละชั้นปีที่ชัดเจนว่าต้องการพัฒนาทักษะในด้านใดบ้าง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีโครงการหลากหลาย เช่น การพัฒนา Soft skills  การทำงานเป็นทีม  กิจกรรมเสริมในวิชา RSU .....แต่ไม่พบการประเมินผลกระบวนการที่จัดให้นักศึกษาและผลที่เกิดจากความพึงพอใจหรือความคิดเห็นต่อโครงการของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการอย่างชัดเจน
- (ดร.ณัฐ) พิจารณาการจัดกิจกรรมนอกเวลาเรียนเพิ่มเติม ควรระบุให้ชัดเจนว่ากิจกรรมใดพัฒนาทักษะใดและอยู่ในชั้นปีใด
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีกิจกรรมส่งเสริม Research day /เวทีการนำเสนอผลการวิจัย และมีผลการประเมินความพึงพอใจของ นศ. แต่ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนว่าประเมินได้เป็นเชิงปริมาณ หรือคุณภาพอย่างไรบ้างและการประเมินผลกระบวนการที่จัดให้นักศึกษาโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรืออาจารย์ผู้สอน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2565 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2568)

จำนวนปีการศึกษายังไม่ครบ 3 ปี จึงยังไม่ต้องประเมิน

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบ กลไก  การนำไปปฏิบัติ และมีผลการดำเนินการที่เห็นได้ชัดเจนในเรื่องความคงอยู่ของอาจารย์และอาจารย์ผู้สอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ดร.ณัฐ) มีการแบ่งความรับผิดชอบและภาระงานของอาจารย์ชัดเจน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีระบบและกลไกในการบริหารอาจารย์ และนำไปปฏิบัติ เช่น มีการประชุมคณะกรรมการอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่มีการประเมินผล กระบวนการบริหารโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรืออาจารย์ผู้สอน
(ดร.ณัฐ)
- ระบบและกลไกยังเขียนไม่ชัดเจนเป็นขั้นตอนตั้งแต่การวางแผน การดำเนินงาน การประเมิน และการปรับปรุง
- ไม่ได้เขียนผลการประเมินการดำเนินงาน
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ดร.ณัฐ) อาจารย์มีผลงานทางวิชาการหลายชิ้นและมีคุณภาพในระดับสูง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- คณะและหลักสูตรมีโครงการในการสนับสนุนหลากหลาย ทำให้อาจารย์ในหลักสูตรมีผลงานเผยแพร่งานวิจัย แต่ไม่มีการประเมินผลกระบวนระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ฯโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรืออาจารย์ผู้สอน
(ดร.ณัฐ)
- ระบบและกลไกยังเขียนไม่ชัดเจนเป็นขั้นตอนตั้งแต่การวางแผน การดำเนินงาน การประเมิน และการปรับปรุง
- ไม่ได้เขียนผลการประเมินการดำเนินงาน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก  มี 3 คน ใน 5 คน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรสนับสนุนให้อาจารย์ทำการวิจัยและเผยแพร่ผลงาน จากข้อมูลพบว่า อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่ละท่านมีผลงานที่เผยแพร่  2 เรื่อง ใน 5 ปี (4 คน ) และ 1 เรื่อง ใน 5 ปี (1 คน)
 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 1 3
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 76.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น ผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 0.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.28
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.52
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
นื่องจากหลักสูตรเป็นหลักสูตรใหม่ ปีพ.ศ. 2565 จึงมีผลการประเมิน 2 ปีการศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ N/A
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

16
16
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
คำแนะนำเพิ่มเติม การเขียนอธิบายในหัวข้อตัวบ่งชี้ที่วัดกระบวนการ ประกอบด้วยรายละเอียดของ
ระบบและกลไก (เช่น กำหนดคณะกรรมการสำรวจความต้องการของการเปิดหลักสูตรของกลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการร่างหลักสูตร) วิธีการดำเนินงานตามระบบกลไกที่ตั้งไว้ (ผลการสำรวจฯ  การทำงานของคณะกรรมการร่างหลักสูตร ) ผลการดำเนินงาน (หลักสูตรฯที่มีหน้าตาอย่างไรบ้างจำนวนหน่วยกิตต่างๆ เอส่วนสรุปของหลักสูตรมาใส่ไว้)  ประเมินจุดดี จุดด้อยของระบบและกลไก โดยผู้ใช้งานระบบและกลไก (ควรจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือ อาจารย์ประจำหลักสูตร  ทำให้ได้หลักสูตรที่เป็นอย่างไร อาจจะดูผลจากจำนวนนักศึกษาที่เข้าในหลักสูตร ) นำจุดดีเก็บไว้เพื่อใช้ในปีการศึกษาต่อไป (ถ้าอาจารย์หรือนักศึกษาประเมินหลักสูตรในปีแรก มีความต้องการอะไรเพิ่มเติมในหลักสูตร นำผลมาจัดเป็นโครงการเสริมได้) นำผลมาจุดด้อยจะปรับปรุงอย่างไร แล้วนำไปใช้ในปีต่อไป ในแนวทางที่ต้องการปรับปรุง (ผลการจัดโครงการเสริม) ประเมินระบบและกลไกซ้ำ

- ไม่พบข้อมูลความร่วมมือกับสถานประกอบการ
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในปัจจุบันยังไม่มีนศ.ที่สำเร็จการศึกษา อาจใช้แบบสอบถาม ความต้องการของผู้เรียนที่จะให้หลักสูตรจัดการอบรมระยะสั้น หรือ ศึกษาดูงานโครงการต่างๆ แต่ในอนาคตมีผู้สำเร็จการศึกษาก็สามารถใช้ข้อมูลจากแบบสอบถามผู้ใช้บัณฑิต มาปรับปรุงหรือเพิ่มเติมความรู้ให้กับนักศึกษาได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ข้อสังเกต หลักสูตรจะนำเสนอผลการดำเนินการการนำระบบและกลไกมาใช้ แต่ขาดการประเมินระบบและกลไกนั้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบความชัดเจนของการประเมินระบบและกลไก
- ไม่พบผลการดำเนินงาน มีเพียงการรายงานระบบและกลไก
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบความชัดเจนของการประเมินระบบและกลไก
- ไม่พบผลการดำเนินงาน มีเพียงการรายงานระบบและกลไก
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบความชัดเจนของการประเมินระบบและกลไก
- ไม่พบผลการดำเนินงาน มีเพียงการรายงานระบบและกลไก
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น ประชุมอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ใช้ link ไป RQF ของ สำนักมาตรฐานวิชาการประกอบได้
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 12 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 12
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อแนะนำ ควรเพิ่มเติมการเขียน
หลักสูตรมีการเสนอรายละเอียดของระบบและกลไกไว้แล้ว เพียงแต่อาจจะยังไม่ได้กำหนดเป็นหัวข้อตามการประเมินที่ชัดเจน อาจจะนำมาเขียนจัดกลุ่มใหม่ ขอเสนอแนะตัวอย่างการการเขียนระบบและกลไกการดำเนินงานของหลักสูตร โดยที่หลักสูตรสามารถนำรายละเอียดเดิมที่มีอยู่มาใส่ในแต่หัวข้อได้เลย
ระบบและกลไกในการดำเนินการเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนฯ ดังนี้
1.จัดให้มีการสำรวจความต้องการปรับปรุง/พัฒนา/จัดซื้อ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาในหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรในภาคที่ 2 ของทุกปีการศึกษา ด้วยแบบสอบถามออนไลน์
2.รวบรวมข้อมูลจากการสอบถาม สรุปความต้องการปรับปรุง/พัฒนา/จัดซื้อ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาในหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร
3.มอบหมาย/ตั้งกรรมการดำเนินการจัดหาตามความต้องการ................
4.เสนอขออนุมัติจัดซื้อ/จัดซ่อมผ่านคณะ (ตามระเบียบมหาวิทยาลัยที่ของบประมาณประจำปีไว้)
5.ถ้าเป็นเอกสารตำรา ให้เสนอผ่านสำนักหอสมุด ถ้าเป็นเรื่องการสนับด้านอินเตอร์เน็ต เสนอผ่านศูนย์คอมฯ 
การนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ
1. 
จัดซื้อ/จัดซ่อมตามระเบียบมหาวิทยาลัยที่ของบประมาณ
2. เขียนรายละเอียดจัดซื้อ/จัดซ่อมในปีการศึกษา 2566 มีอะไรบ้าง จำนวนเท่าไร
3. ถ้าเป็นเอกสาราตำรา สำนักหอสมุด จะมีบันทึกตอบกลับในการจัดหาเอกสารเข้าสำนักหอสมุด ถ้าเป็นเรื่องการสนับสนุนด้านอินเตอร์เน็ต จะมีบันทึกให้การสนับสนุนจากศูนย์ฯในเรื่องใดบ้าง
การประเมินผลของกระบวนการ
1.แจ้งผลการปรับปรุง/พัฒนา/จัดซื้อ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ (แจ้งกระบวนการและจำนวนที่จัดซื้อ/จัดซ่อม) ตามความต้องการของนักศึกษาในหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรในปีการศึกษา 2566
2.นักศึกษาในหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดซื้อ/จัดซ่อม และ จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้หลังจากจัดซื้อ/จัดซ่อมแล้ว
การปรับปรุงพัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
ถ้าหลักสูตรมีการจัดทำตามที่กล่าวข้างต้นในปี 2565 แล้วพบว่า ไม่สามารถจัดซื้อ/จัดซ่อม ได้ครบถ้วนตามความต้องการของนักศึกษาในหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรในปีการศึกษา 2565 อาจเกิดจากไม่มีการตั้งงบประมาณในช่วงเดือนมิถุนายนของเริ่มปีงบประมาณใหม่  ในปี 2566 หลักสูตรแจ้งรายละเอียดว่าได้ของบประมาณเพิ่มเท่าไร สามารถจัดซื้อ/จัดซ่อมได้ตามความต้องการ
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จำนวนสิ่งสนับสนุน  (ตัวอย่างการเขียนเพิ่มเติม)
ระบบและกลไก
1.หลักสูตรมีการกำหนด/มอบหมายอาจารย์/คณะกรรมการ ตรวจสอบจำนวนสิ่งสนับสนุน ในแต่ละปีการศึกษา ถ้าพบว่ามีการชำรุด/เสียหาย ต้องจัดซ่อม/จำหน่าย /แปรสภาพเพื่อเสนอให้คณบดีรับทราบ
2.ถ้าต้องจัดซ่อมให้ทำบันทึกเสนอเช่นเดียวกับกรณีการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
การนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ
หลักสูตรจะมีข้อมูลสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้แบบต่อเนื่องทุกปีการศึกษา เสนอในรูปแบบตาราง แบ่งคอลัมน์ เป็นปีการศึกษา   จำนวนห้องเรียน จำนวนห้องปฏิบัติการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อเอกสาร ทำให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเห็นชัดเจนมีสิ่งสนับสนุนการเรีบนรู้เพียงพอหรือไม่ ต้องเตรียมขออนุมัติงบประมาณในปีต่อไปอย่างไร
การประเมินผลของกระบวนการ
ให้อาจารย์ประจำหลักสูตรประเมินระบบและกลไกของการรายงานจำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งอาจจะเป็นรายการประเมินความพึงพอใจในแง่ของการรับรู้จำนวนฯเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในแง่การจัดการเรียนรู้
การปรับปรุงพัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
มีการประเมินระบบและกลไกในการสำรวจสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และการจัดทำบัญชีคุมรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อาจจะพบเจอปัญหาจากการที่สำรวจได้ไม่ครบถ้วน หรือ การสูญหายของสิ่งสนับสนุน ซึ่งจะเป็นแนวทางของหลักสูตรที่จะนำไปปรับปรุงกระบวนการต่อไป

 
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน
ระบบและกลไก
1.หลักสูตรมีระบบละกลไกในการจัดหาสิ่งสนับสนุนฯ ตามที่กล่าวมาแล้ว
2.หลักสูตรมีระบบละกลไกในการสำรวจสิ่งสนับสนุนฯ ตามที่กล่าวมาแล้ว
การนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ
หลักสูตรได้นำการนำระบบและกลไกการจัดหาสิ่งสนับสนุนฯ และ การสำรวจสิ่งสนับสนุนฯไปสู่การปฏิบัติ จนได้ผลตามตารางเสนอจำนวนสิ่งสนับสนุนที่มีอยู่ในปี 2564-2565-2565
 การประเมินผลของกระบวนการ
(ตารางค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อกระบวนการจัดหา/จัดซ่อม ตารางค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อจำนวน/ความพอเพียงของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้)

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. (ดร.ณัฐ) อาจารย์มีศักยภาพในการผลิตผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพระดับสูงได้หลายชิ้น สามารถพัฒนาเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการได้ต่อไป
  2. (ผศ.ดร.เอกพล) หลักสูตรมีกระบวนการดูแลนักศึกษาที่ดีมากโดยใช้กิจกรรมต่างๆ

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. (ดร.ณัฐ) การประเมินตนเองในหลายตัวบ่งชี้ยังไม่สมบูรณ์ เนื่องจากมีเพียงระบบและกลไก ยังไม่มีผลการดำเนินงาน หรือมีผลการดำเนินงาน แต่ยังไม่มีการประเมิน หรือผลการดำเนินงานไม่ละเอียดชัดเจน จึงจำเป็นต้องพัฒนาวิธีการเขียนรายงาน RQF.7 ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป
  2. (ดร.ณัฐ) พัฒนากิจกรรมการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาใหม่เพิ่มเติม โดยจัดในภาคฤดูร้อนก่อนเปิดการศึกษาในภาคปกติ และพัฒนากิจกรรมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้ช่วงเวลานอกห้องเรียนเพิ่มเติม
  3. (ดร.ณัฐ) เพิ่มการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการบริการทางวิชาการ ซึ่งหลักสูตรมีศักยภาพในการดำเนินการได้ผ่านกิจกรรมในรายวิชาต่างๆ
  4. (ผศ.ดร.เอกพล) ควรทำแผนการพัฒนาอาจารย์ในการศึกษาต่อ หรือ การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่ชัดเจน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 N/A
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี N/A
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา N/A
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.33
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ N/A
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 2.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [9 ตัวบ่งชี้] 3.15

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 0 - - 0.00 0.00 N/A
3 2 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 2 3.17 - - 3.17 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.33 - 3.25 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.07 3.25 0.00 3.15 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี N/A