รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารอุตสาหกรรมกอล์ฟ

วันที่ประเมิน: 30 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประกอบด้วย
รศ.ดร.บัญชา ชลาภิรมย์ 
ผศ.ดร.เกษม นครเขตต์
อ.ดร.กิตติ เจริญพรพานิชกุล

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประกอบด้วย
รศ.ดร.บัญชา ชลาภิรมย์ 
ผศ.ดร.เกษม นครเขตต์
อ.ดร.กิตติ เจริญพรพานิชกุล
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานควรจะใส่เป็นผลงานชิ้นนั้นๆ หรือลิ้งไปยังผลงานนั้น ดังตัวอย่างเช่นหลักสูตร กอล์ฟ ป.ตรี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานควรจะใส่เป็นผลงานชิ้นนั้นๆ หรือลิ้งไปยังผลงานนั้น ดังตัวอย่างเช่นหลักสูตร กอล์ฟ ป.ตรี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 5 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
_
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แบบ 1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. อย่างน้อย 2 เรื่อง
แบบ 2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (0 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ N/A คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีโครงการเพิ่มยอดนักศึกษาเข้าใหม่ ที่มุ่งหาแนวทางในการเข้าถึงเป้าหมายโดยพิจารณาจากผลการประเมินกระบวนการของการประชาสัมพันธ์และการแนะแนวในการรับสมัครนักศึกษาใหม่

ในปีการศึกษาหน้าควรรายงาน PDCA ให้ชัดเจน 
-หลักสูตรมีแนวทางการรับนักศึกษาอย่างไร  มีการสอบสัมภาษณ์หรือไม่ มีเกณฑ์คุณวุฒิ และ/หรือประสบการณ์หรือไม่ เกณฑ์/แนวทางการรับดังกล่าวเกิดขึ้นมาจาก??
-ในปี 2566 หลักสูตร ดำเนินการอย่างไร เมื่อใด เกิดอะไรขึ้นบ้าง ผลเป็นอย่างไร
-สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ ประเมินอย่างไร เครื่องมือหรือวิธีการประเมินคืออะไร ใช้ตัวชี้วัดความสำเร็จคืออะไร
-จากผลการประเมินดังกล่าว หลังสูตรจะใช้เป็นแนวทางในการปรับระบบ/กลไกการรับนักศึกษาอย่าง


ปี 66 หลักสูตรไม่มีนศรับเข้า 
 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การเตรียมความรู้และความสามารถ และทักษะพื้นฐานการศึกษากีฬากอล์ฟและรายวิชาในหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในปีการศึกษาหน้า หากรับ นศ.ได้ ควรมีประเด็น
1) การปฐมนิเทศ
2) การเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ
3) การเตรียมความพร้อมด้านภาษา
4) อื่น ๆ
  • หลักสุตรจะเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาในประเด้นใดบ้าง เพราะอะไร (ควรใช้ข้อมูลจากการดำเนินของหลักสูตรในรอบปีที่ผ่าน เช่น ศักยภาพก่อนเรียนของนักศึกษา)
  • ในแต่ละประเด้นดังกล่าว หลักสูตรมีระบบและกลไกในการเตรียมความพร้อมอย่างไร ใช้ตัวชี้วัดที่ให้นักศึกษาเตรียมความพร้อม กิจกรรมใดที่จะเตรียมเฉพาะนักศึกษารายบุคคลตามความจำเป็น หรือกิจกรรมใดที่จะเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาทุกราย
  • ปี 2566 หลักสูตรดำเนินการอย่างไร เมื่อใด มีนักศึกษาเข้าร่วมกี่ราย
  • ผลการเตรียมความพร้อมเป็นอย่างไรบ้าง (นอกจากความพึงพอใจ ขอให้อธิบายในความสำเร็จของกิจกรรมในการเตรียมความพร้อมนั้น)
  • หลักสูตรประเมินผลกิจกรรมด้วยเครื่องมือใด ได้ผลอย่างไร
  • ผลการประเมินดังกล่าว หลักสูตรจะนำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงระบบและกลไกการเตรียมความพร้อมอย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในปีการศึกษาหน้า หากรับ นศ.ได้ ควรเพิ่มรายงานการประชุม
-กิจกรรมปฐมนิเทศ และผลการประเมิน
-กิจกรรมการเตรียมความพร้อม และผลการประเมิน

 

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีระบบ กลไก และดำเนินการตามขั้นตอนในการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ ในหลากหลายช่องทาง ได้แก่ การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านทาง Social Media และ Research Clinic เป็นต้น 
2.มีการใช้ไลน์กลุ่มในการสื่อสารระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา และมีคู่มือนักศึกษา

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการประเมินและปรับปรุง
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีหลากหลายกิจกรรมทั้งในวิชาเรียนและการศึกษาดูงานนนอกสถานที่ในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะที่สำคัญสำหรับการทำวิจัยของนักศึกษาด้านการบริหารจัดการในรูปแบบของการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ สมรรถนะด้านการบริหารจัดการด้วย Digital สมรรถนะด้านความคิดเชิง Citical Thinking เป็นต้น
2.มีการศึกษาดูงานในสถานที่จริง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานผลประเมินที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยจัดทำเป็นแนวโน้มของผลสำเร็จที่เกิดขึ้นในแต่ละปีการศึกษา

ดร.วัชรินทร์ - หลักสูตรควรจะกำหน ดศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่หลักสูตรมุ่งพัฒนา
และอธิบายว่า (ยึดตามเป้าหมายของคุณลักษณะของนักศึกษาที่หลักสูตรต้องการพัฒนา)
1) หลักสูตรมีระบบและกลไกการพัฒนานักศึกษาอย่างไร อาจจะย้อยความในปีการศึกษาที่ผ่านมา ว่าผลจากการประเมินกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาที่ได้จัดไปเป็นอย่างไร นำมาสู่การออกแบบระบบและกลไกอย่างไร
2) จากเป้าหมายการพัฒนานักศึกษาของหลักสูตรนั้น ในปี 2566 หลักสูตรดำเนินการผ่านกิจกรรมใดบ้าง เมื่อใด มีนักศึกษาเข้าร่วมกี่ราย ได้ผลเป็นอย่างไร
3) มีแนวทางการประเมินความสำเร็จของกิจกรรม/โครงการนั้นอย่างไร มีผลของการประเมินเป็นอย่างไร ทราบได้อย่างไร 
4) จากผลการประเมินดังกล่าว จะปรับเปลี่ยนอย่างไรในปีการศึกษา 2567 

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ -
1) ศักยภาพใดที่หลักสูตรต้องการพัฒนา (ศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ)
2) ทำไมเป็นศักยภาพนั้น สอดคล้องกับจุดเน้น/อัตลักษณ์/ความต้องการของสังคมอย่างไร 
3) หลักสูตรมีระบบและกลไกในการพัฒนาศักยภาพนั้นอย่างไร จะทำผ่านกิจกรรมใด โดยใคร 
4) ปี 2566 หลักสูตรดำเนินการอย่างไร มีกิจกรรม/โครงการใดบ้าง เมื่อไหร่ มีนักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกี่ราย ได้ผลเป็นอย่างไร
5) หลักสูตรประเมินความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพนั้นด้วยตัวชี้วัดใด (อาทิ ผลงานทางวิชาการของนักศึกษา การประกวด การแข่งขัน ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ฯลฯ)
6) ผลของการประเมินเป็นอย่างไร ต้องปรับหรือแก้ไขอะไร เพราะอะไร ที่ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทราบหรือไม่ อย่างไร
7) ผลการประเมินนั้น นำไปสู่การปรับระบบและกลไก ตลอดจนการดำเนินการอย่างไร

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

จำนวนปีการศึกษายังไม่ครบ 3 ปี จึงยังไม่ต้องประเมิน

ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ - ควรนำคำอธิบายตัวบ่งชี้ออก
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ขาด CA
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการแสดงรายละเอียดโดยย่อของผลที่เกิดขึ้น โดยพิจารณาเทียบกับเป้าหมายที่วางไว้
2. หลักสูตรควรมีแผนงานของความก้าวหน้าในการขอตำแหน่งวิชาการและอัตรากำลังของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร


ดร.วัชรินทร์ -
-ขาด CA
-อธิบายการดำเนินการเกี่ยวกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีการบริหารอย่างไร แบ่งงานอย่างไร อาจารย์ท่านใดรับผิดชอบด้านใด มีการประชุมร่วมกันหรือไม่ มีแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
-ปี 2566 มีการดำเนินการอย่างไร
-ผลการดำเนินการในปี 2566 จะประเมินผลอย่างไร ว่า ระบบและกลไก เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ ตบช ของหลักสูตรต่อประเด็นดังกล่าวสำเร็จตามที่กำหนดไว้
-จะประเมินผลอย่างไร ด้วยวิธีการอย่างไร ได้ผลการประเมินเป็นอย่างไร
-หลักสูตรจะปรับปรุงการดำเนินการเรื่องการบริหารอาจารย์อย่างไร
-นอกจากประเด็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแล้ว อาจจะเพิ่มประเด็นอย่างอาจารย์ประจำหลักสูตรด้วยก็ได้ แต่ขอให้เป็นประเด็นรอง

 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ -
-ปี 2566 มีการดำเนินการอย่างไร
-ผลการดำเนินการในปี 2566 จะประเมินผลอย่างไร ว่า ระบบและกลไก เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ ตบช ของหลักสูตรต่อประเด็นดังกล่าวสำเร็จตามที่กำหนดไว้ มีอาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาตนเองกี่ท่าน เรื่อวใดบ้าง และใช้ประโยชน์อย่างไร
-จะประเมินผลอย่างไร ด้วยวิธีการอย่างไร ได้ผลการประเมินเป็นอย่างไร
-หลักสูตรจะปรับปรุงการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์อย่างไร

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดร.วัชรินทร์ - ควรมีหลักฐาน IDP

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 3.33
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 66.67
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 100 3.33
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ควรพัฒนาอาจารย์สู่ตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 1 0 0 1
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 1.40 3.89
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 46.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 3.89
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.4 จำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนยืนยัน
[ฐานข้อมูล]
ผลการประเมิน
กรรมการ
TCI SCOPUS
[1] จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง 1 2 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร [1] / [2] 1.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] x 5 / 0.25 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา
  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 2.5 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 3.0 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 0.25 ขึ้นไป
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.31 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 66.67
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 0.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.67
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.78
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ N/A
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
แนวโน้มดีขึ้น 2 เรื่อง

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

4
1
25.00
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการเชี่ยมโยงระหว่างสาระรายวิชา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รวมถึงความต้องการของผู้เรียนและการนำไปใช้จริงในสังคม

ดร.วัชรินทร์
- ร้อยละจำนวนรายวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันฯ  > 0.80 เป็นเป้าหมายระดับคณะ/มหาวิทยาลัย
- อธิบายให้ชัดเจนว่าหลักสูตรมีระบบกลไก การดำเนินงานเกี่ยวกับการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ อย่างไร
- ระบบกลไก การดำเนินงาน ดีหรือไม่ ทราบได้อย่างไร 
- ผลการประเมินนำมาสู่การปรับระบบและกลไกการออกแบบหลักสูตร และ/หรือสาระรายวิชาอย่างไร
- เน้น ความต้องการของผู้เรียน และ การสร้างความร่วมมือกับผู้ประกอบการ

หน้า 74 ควรรายงานค่าเฉลี่ยผลประเมินการสอนทั้งหมด และรายงานวิชาที่เปิดสอนไว้ 4 วิชา แต่ใน ตบช นี้ หลักสูตรระบุวิชาที่เปิด 6 วิชา ??
หากหลักสูตรมีการปรับปรุง 1 รายวิชา จาก 4 วิชา ก็จะคิดเป็นร้อยละ 25

 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์
- อธิบายให้ชัดเจนว่าหลักสูตรมีระบบกลไก การดำเนินงานเกี่ยวกับการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน อย่างไร (เน้นการกำหนด LO ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร)
- ระบบกลไก การดำเนินงาน ดีหรือไม่ ทราบได้อย่างไร 
- ผลการประเมินนำมาสู่การปรับระบบและกลไกการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ อย่างไร
- กระจาย LO สู่รายวิชา/กิจกรรมต่าง ๆ ของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์
- อธิบายให้ชัดเจนว่าหลักสูตรมีระบบกลไก การดำเนินงานเกี่ยวกับการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง อย่างไร
- ระบบกลไก การดำเนินงาน ดีหรือไม่ ทราบได้อย่างไร 
- ผลการประเมินนำมาสู่การปรับระบบและกลไกปรับปรุงหลักสูตรฯ อย่างไร
มีกี่รายวิชาที่ถูกปรับ ปรับจากสารสนเทศ (input) ใด 

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีรูปแบบการดำเนินงานในการกำหนดระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะการมุ่งเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ทั้งเชิงทฤษฎี และประสบการณ์จริงจากการศึกษาดูงานภายนอก รวมถึงการกำหนดขั้นตอนในการควบคุมการดูแลและให้ความช่วยเหลือในการทำวิจัยของนักศึกษา ได้แก่ การจัด RSU Golf Academy Research Clinic อย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อกำกับและติดตามความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มการจัดทำแผนงานตามระยะเวลาของการทำวิจัยเพื่อความสำเร็จของการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาเป็นรายบุคคล โดยให้การสำเร็จการศึกษาอยู่ในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด

ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ CA
 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ CA
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ DCA
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ DCA
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ CA
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ CA
D ไม่ชัดเจน ทำอย่างไร เมื่อไหร่ มี นศ เข้าร่วมหรือไม่ กี่คน เกิดผลอะไรบ้าง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดร.วัชรินทร์ - เพิ่มเติมรายการหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ DCA
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการประเมินผู้เรียนที่ครอบคลุมผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน(Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นชองหลักสูตร 
2. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานแสดงแนวโน้มของความมีคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน รวมถึงความชัดเจนในประเด็นของการทวนสอบเมื่อเทียบกับความคาดหวังที่หลักสูตรกำหนด


ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ DCA
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ CA
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ CA

ควรเพิ่มรายงานในประเด็นการทวนสอบ
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ P C A 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ P C A 
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ D C A 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ - ไม่พบ D C A 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระบุชื่อรายวิชา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
วิชาที่เปิดสอน 4 วิชา ทวนสอบ 1 วิชา คิดเป็นร้อยละ 25
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.88
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.79
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก ในการดำเนินการให้อาจารย์ประจำหลักสูตรได้มีส่วนร่วมในการให้ความเห็นต่อการจัดสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการทำวิจัยในยุคดิจิทัล รวมทั้งได้ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับอาจารย์และนักศึกษา
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีความชัดเจนในการแสดงให้เห็นแนวโน้มของความพึงพอใจในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งเอื้อประโยชน์สำหรับการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ของอาจารย์และนักศึกษา พร้อมทั้งผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจากการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯดังกล่าว
 
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีระบบ กลไก และดำเนินการตามขั้นตอนในการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ ในหลากหลายช่องทาง ได้แก่ การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านทาง Social Media และ Research Clinic เป็นต้น
  2. หลักสูตรมีหลากหลายกิจกรรมทั้งในวิชาเรียนและการศึกษาดูงานนนอกสถานที่ในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะที่สำคัญสำหรับการทำวิจัยของนักศึกษาด้านการบริหารจัดการในรูปแบบของการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ สมรรถนะด้านการบริหารจัดการด้วย Digital สมรรถนะด้านความคิดเชิง Citical Thinking เป็นต้น
  3. หลักสูตรมีรูปแบบการดำเนินงานในการกำหนดระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะการมุ่งเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ทั้งเชิงทฤษฎี และประสบการณ์จริงจากการศึกษาดูงานภายนอก รวมถึงการกำหนดขั้นตอนในการควบคุมการดูแลและให้ความช่วยเหลือในการทำวิจัยของนักศึกษา ได้แก่ การจัด RSU Golf Academy Research Clinic อย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อกำกับและติดตามความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนะ์ของนักศึกษา
  4. หลักสูตรมีระบบและกลไก ในการดำเนินการให้อาจารย์ประจำหลักสูตรได้มีส่วนร่วมในการให้ความเห็นต่อการจัดสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการทำวิจัยในยุคดิจิทัล รวมทั้งได้ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับอาจารย์และนักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรมีโครงการเพิ่มยอดนักศึกษาเข้าใหม่ ที่มุ่งหาแนวทางในการเข้าถึงเป้าหมายโดยพิจารณาจากผลการประเมินกระบวนการของการประชาสัมพันธ์และการแนะแนวในการรับสมัครนักศึกษาใหม่
  2. หลักสูตรควรมีแผนงานในการทำงานวิจัยของนักศึกษาเป็นรายบุคคล เพื่อมุ่งสู่การสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด
  3. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานผลประเมินที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยจัดทำเป็นแนวโน้มของผลสำเร็จที่เกิดขึ้นในแต่ละปีการศึกษา
  4. หลักสูตรควรมีแผนงานของความก้าวหน้าในการขอตำแหน่งวิชาการและอัตรากำลังของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และหลักสูตรควรมีแผนการพัฒนาอาจารย์ทั้งด้านวิชาการและทักษะวิชาชีพ
  5. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการเชี่ยมโยงระหว่างสาระรายวิชา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รวมถึงความต้องการของผู้เรียนและการนำไปใช้จริงในสังคม
  6. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการประเมินผู้เรียนที่ครอบคลุมผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน(Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นชองหลักสูตร
  7. หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานแสดงแนวโน้มของความมีคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน รวมถึงความชัดเจนในประเด็นของการทวนสอบเมื่อเทียบกับความคาดหวังที่หลักสูตรกำหนด
  8. หลักสูตรควรมีความชัดเจนในการแสดงให้เห็นแนวโน้มของความพึงพอใจในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งเอื้อประโยชน์สำหรับการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ของอาจารย์และนักศึกษา พร้อมทั้งผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจากการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯดังกล่าว

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 N/A
2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ N/A
3.1 การรับนักศึกษา 2.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 2.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา N/A
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 2.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.31
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ N/A
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 2.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 2.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 2.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [9 ตัวบ่งชี้] 2.70

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 N/A - - N/A N/A N/A
3 2 2.00 - - 2.00 ระดับคุณภาพน้อย
4 2 3.16 - - 3.16 ระดับคุณภาพดี
5 4 2.00 3.00 - 2.75 ระดับคุณภาพปานกลาง
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 2.46 3.00 N/A 2.70 ระดับคุณภาพปานกลาง
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพปานกลาง N/A