รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว

วันที่ประเมิน: 9 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
เห็นควรให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทำผลงานวิชาการเพิ่มขึ้นในปีการศึกษา 2567
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 16 4.41
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 16
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.41
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 16 4.62
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 14
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 9
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 3
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 1
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 92.31
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.62
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.52 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรได้วางแผนพัฒนาปรับปรุงกระบวนการ ดังนี้
1. เพิ่มการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ผ่านสื่อของมหาวิทยาลัย คณะ และสาขาในทุกช่องทางโดยเฉพาะสื่อสังคมออนไลน์ รวมถึงการออกแนะแนวตามโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
2. จัดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรและดึงดูดกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ให้มาเข้าร่วม เช่น จัดโครงการแข่งขันตอบคำถามด้านการท่องเที่ยวและการบริการ ฯลฯ เพื่อกระตุ้นให้ทั้งกลุ่มเป้าหมาย บุคคลภายนอกได้รู้จัก และส่งผลให้มีผู้สมัครเข้าเรียนในสาขาวิชาฯ เพิ่มมากขึ้น
หลักสูตรควรวางแผนการประเมินกิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการรับนักศึกษาเพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ

 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ปี 2566 หลักสูตรได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาให้แก่นักศึกษาใหม่ พบว่า ทุกคนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวเป็นอย่างดี โดยมีอัตราการเข้าร่วมแต่ละกิจกรรมมากกว่าร้อยละ 90 แต่หลักสูตรควรรายงานค่าร้อยละของนักศึกษาใหม่ที่มีความพร้อมในด้านต่าง ๆ ของรายกิจกรรม/โครงการ เพื่อนำผลประเมินไปปรีบปรุงกระบวนการต่อไป
2.หลักการของการเตรียมความพร้อม ควรจัดให้มีก่อนเปิดภาคการศึกษาแรก เป็นการเตรียมความพร้อมเฉพาะทางของหลักสูตร และไม่นับรวมการปฐมนิเทศรวม

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย 4.35 (พึงพอใจมาก) หลักสูตรอาจรายงานแนวโน้มผลประเมินรายข้อย่อยเทียบค่าเป้าหมายเพื่อวางแผนปรับปรุงระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่หลากหลาย ถึง 7 กิจกรรม 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรประเมินร้อยละนักศึกษาที่บรรลุ learning outcome ของรายกิจกรรม นอกเหนือจากความพึงพอใจ เพื่อนำผลไปปรับปรุงกระบวนการ
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีรายวิชา TRM 329 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ ในส่วนของงานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ได้มอบหมายให้นักศึกษาคิดนวัตกรรมการในด้านการท่องเที่ยว โดยให้นักศึกษาทำงานวิจัยในสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวและการบริการหรือในแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ อาทิ การศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยววัดมะขาม จังหวัดปทุมธานี การศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวยังวัดศาลเจ้า จังหวัดปทุมธานี เป็นต้น โดยสถานประกอบการหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในแหล่งท่องเที่ยวสามารถนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
2.มีการดำเนินงานเพื่อพัฒนานักศึกษาได้ดี มีการส่งเสริมให้นักศึกษาบริการวิชาการกับชุมชน ควรนำส่วนนี้ไปต่อยอดกับงานวิจัย ผลิตผลงานวิชาการร่วมกับนักศึกษา เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ และพัฒนาไปสู่ระดับนานาชาติ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานร้อยละจำนวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการพัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 70.21
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 61.90
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 72.41
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ค่าร้อยละอัตราการคงอยู่ควรรายงานแนวทางการปรับปรุงกระบวนการแยกตามสาเหตุ ลาออก สอบไม่ผ่าน หรือปัญหาการเงิน เป็นต้น เพื่อเพิ่มอัตราการคงอยู่
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 65.96
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 59.52
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 65.52
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.46
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.49
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.51
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกตว่าผลประเมินความพึงพอใจนักศึกษาต่อกิจกรรมด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาตินั้นมีคะแนนประเมินเป็นรองด้านอื่นๆ หากมีการประเมินร้อยละนักศึกษาที่มี learning outcome ด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัยแล้วนำเป็นส่วนหนึ่งในการปรับปรุงกระบวนการอาจส่งผลให้คะแนนประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ มีการตรวจสอบอัตรากำลัง การประเมินการเรียนการสอนของอาจารย์แต่ละคนว่า มีได้รับการประเมินการเรียนการสอนเป็นอย่างไรในแต่ละรายวิชาที่ได้รับผิดชอบ มีการจัดทำแผนการสอนสอดคล้องตามคำอธิบายรายวิชานั้น ๆ มีผลงานการวิจัยที่สอดคล้องกับภาระงานสอนเพื่อนำผลงานวิจัยมาประยุกต์ในการสอนในรายวิชที่รับผิดชอบและประเมินอาจารย์แต่ละคน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีแผนในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ มีการส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้ารับการอบรมความรู้ด้านต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต เพื่อให้บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถเข้าทำงานในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการและเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีการส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยเพื่อให้ได้ความรู้ใหม่และนำผลงานวิจัยที่ได้ออกเผยแพร่ พร้อมกับนำผลการวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกและมีการส่งเสริมให้อาจารย์ผุ้รับผิดชอบหลักสูตรมีการศึกษาต่อ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าสู่กระบวนการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ และศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้น
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ส่งเสริมให้คณาจารย์เข้าสู่กระบวนการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 0 1 0 2
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 2.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 56.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 60.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.52
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.57
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.62
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
แนวโน้มดีขึ้นทุกด้าน

 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

37
30
81.08
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ ปรับหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ โดยการเพิ่มรายวิชาในหมวดวิชาชีพเลือก และเปิดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 1/2566 ดังนี้
1.  กลุ่มวิชาธุรกิจนำเที่ยว จำนวน 3 รายวิชา ได้แก่ TRM 362 การจัดการนวัตกรรมทางธุรกิจนำเที่ยวต่างประเทศ TRM 363 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยวในยุคดิจิทัล และ TRM 364 การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
2.  กลุ่มวิชาการท่องเที่ยวความสนใจพิเศษ จำนวน 4 รายวิชา ได้แก่ TRM 356 การจัดการแสดงสินค้าและนิทรรศการในยุคศตวรรษที่ 21 TRM 358 การวางแผนและการจัดการประชุมในยุคดิจิทัล TRM 359 การวางแผนและการจัดการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล และTRM 450 การจัดการตลาดสำหรับธุรกิจไมซ์และอีเวนท์

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรรายงานผลการดำเนินงานที่ต่อเนื่องมาจากปีการศึกษาที่ผ่านมาจนมาถึงปีการศึกษา 2566 ทำให้ยังไม่เห็นกระบวนการการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร โดยการ mapping กับรายวิชาต่าง ๆ มีรายละเอียดครบถ้วน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจนำผลประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตมาประกอบการปรับปรุงกระบวนการมีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันต่อสถานการณ์ เนื่องจากธุรกิจการท่องเที่ยวมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการและมาตรฐานการดำเนินงานหลายอย่าง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้จัดให้มีการประเมินกระบวนการกำหนดผู้สอน ด้วยวิธีดังนี้
1.การประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา โดยหลักสูตรประเมินการสอนของผู้สอนในรายวิชาต่าง ๆ ผ่านระบบออนไลน์ จากสำนักงานมาตรฐานวิชาการของมหาวิทยาลัย ซึ่งหลักสูตรได้ทำการประชาสัมพันธ์ถึงกำหนดระยะเวลาการประเมินตามช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ของหลักสูตร ได้แก่ Facebook Fanpage กลุ่ม Line นักศึกษาแต่ละชั้นปี และให้อาจารย์ผู้สอนแจ้งนักศึกษารายวิชา ซึ่งในปีการศึกษา 2566 มีจำนวนรายวิชาที่ถูกประเมินรวมทั้งสิ้น 37 รายวิชา ผลการประเมินการสอนของอาจารย์ประจำหลักสูตร พบว่า ผลการประเมินคุณภาพการสอนของอาจารย์ประจำหลักสูตรโดยนักศึกษา ในปีการศึกษา 2566 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 จากคะแนนเต็ม 5

2.หลักสูตรได้จัดประชุมอาจรย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อทบทวนผลการกำหนดอาจารย์ผู้สอนในปีการศึกษา 2566 โดยนำข้อคิดเห็นจากการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา มาเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ด้วย โดยผู้อำนวยการหลักสูตรจะแจ้งผลการประเมินให้อาจารย์ผู้สอนทราบเพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาการสอนต่อไป การประเมินอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา พบว่า รายวิชาที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.51 ขึ้นไป) จำนวน 14 รายวิชา คิดเป็น ร้อยละ 37.84 จากรายวิชาที่เปิดสอน 37 รายวิชา

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรได้นำผลจากการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไปทบทวนผลการกำหนดอาจารย์ผู้สอน มาพิจารณาปรับปรุงกระบวนการกำหนดตัวผู้สอนในปีการศึกษา 2566 คือ
1.มีการวางแผนปรับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชาที่มีการปรับปรุงใหม่และใช้ในปีการศึกษา 2566 มากขึ้น เช่น ปรับเปลี่ยนผู้สอนรายวิชา TRM 329 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ จาก อาจารย์วงษ์จันทร์ ไพโรจน์ เป็น อาจารย์ทุกคนในหลักสูตรฯ จำนวน 5 คน ในลักษณะ Team Teaching

2.หลักสูตรจัดให้มีอาจารย์พี่เลี้ยงทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการสอนให้กับอาจารย์ที่ได้คะแนนการประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่ได้ระดับคะแนนน้อยกว่า 4.00 เพื่อพัฒนาการสอนให้ดีขึ้น
หลักสูตรควรรายงานผลการปรับปรุงดังกล่าวเปรียบเทียบผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างไรต่อไป

 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้จัดส่ง RQF.3  ตรงตามกำหนดเวลาที่วางไว้ และอาจารย์ประจำหลักสูตรได้ร่วมกันตรวจสอบว่ารายละเอียดภายใน แผนการเรียนรู้ RQF.3 สอดคล้องกับรายละเอียดและแผนการเรียนรู้ 5 ด้านของแต่ละรายวิชาที่ปรากฎใน มคอ.2 จึงสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในการเรียนการสอนของแต่ละรายวิชาได้ โดยขอให้ชี้แจงให้นักศึกษาได้รับทราบในสัปดาห์แรกของการเปิดภาคเรียน หลังจากที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้ RQF.3, RQF.4 และแผนปฏิบัติการของหลักสูตรที่วางไว้แล้วนั้น หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ 1/2566 หลักสูตรได้จัดประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหลักสูตรเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับภาคการศึกษาที่ 2/2566 และเพื่อกำกับติดตามให้อาจารย์ทุกคนจัดทำ RQF.5 และ RQF.6 ของทุกรายวิชาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน ตามแผนการดำเนินงานของหลักสูตรที่ได้กำหนดไว้
         
        เมื่อสิ้นปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ ได้มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาโดยการนำ RQF.3 และ RQF.4 จำนวน 10 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 27.03 ของรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมดในปีการศึกษา 2566 จำนวน 37 รายวิชามาดำเนินการทวนสอบเพื่อตรวจสอบผลการดำเนินการสอนว่าเป็นไปตามที่เขียนใน RQF.3 และ RQF.4 หรือไม่
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อให้นักศึกษาได้ทำการค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเอง โดยใช้หลักการเขียนและอ้างอิงรูปแบบการทำวิจัย ในรายวิชาที่เปิดสอน TRM329 ระเบียบวิจัยทางสังคมศาสตร์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ ได้มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าในการทำวิจัยเกี่ยวกับการท่องเที่ยว

2.การบริการวิชาการทางสังคม ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตร ได้รับมอบหมายจากวิทยาลัยให้นำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมและโครงการบริการวิชาการ ในวิชา TRM 225 งานมัคคุเทศก์  วิชา TRM 430 สัมมนาเหตุการณ์ปัจจุบันในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ หลักสูตรได้มอบหมายให้นักศึกษาเป็นผู้นำชมห้องปฏิบัติการ ให้ข้อมูลรายละเอียดการเรียนการสอนของหลักสูตร แนวทางการประกอบอาชีพ และนำกิจกรรมในฐานต่าง ๆ ของหลักสูตร ในกิจกรรม Open House ของวิทยาลัย ผลจากการจัดกิจกรรม ทำให้หลักสูตรได้รับความสนใจจากนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี นักเรียนและนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เป็นอย่างดี หลักสูตรได้มอบหมายให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ “ออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ปีการศึกษา 2566” ผลจากการเข้ากิจกรรมนักศึกษาได้นำความรู้ไปปรับและประยุกต์ใช้ในการบริการทางวิชาการสังคมทางด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การทำรายการนำเที่ยว และกิจกรรมในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเป็นการส่งเสริมทางด้านการตลาดให้แก่แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน

      ผลจากการที่ได้ให้บริการวิชาการทางสังคม คือ นักศึกษามีความเป็นจิตอาสามากขึ้น มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลามากขึ้น รวมทั้งผลสัมฤทธิ์การเรียนในรายวิชาสูงขึ้นด้วยจากผลการทดสอบในห้องเรียนและยังได้พัฒนาเด็กนักเรียนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะเพิ่มเติม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และฝึกให้นักศึกษามีจิตสาธารณะในการช่วยเหลือสังคมให้เกิดการพึ่งพาอาศัยกันโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนอีกด้วย

3.การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและความเป็นไทยมีการเรียนในรายวิชาที่มีเนื้อหาทางคุณธรรม จริยธรรม ศาสนา การบำเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งมีอยู่ในกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป (RSU 111) และในรายวิชา TRM 201 อารยธรรมเปรียบเทียบมีรูปแบบการสอนโดยเน้นผู้เรียนด้วยการแบ่งนักศึกษาอออกเป็นกลุ่มย่อย เพื่อออกไปศึกษาด้านวัฒนธรรมของสถานที่สำคัญในมหาวิทยาลัยรังสิต ได้แก่ มณฑปพระศรีศาสดา ประติมากรรมพระพิฆเณศ ประติมากรรมสุริยเทพ และประติมากรรมเจ้าแม่กวนอิม ซึ่งเป็นประติมากรรมที่สวยงามและมีความหลากหลายทางศาสนาและความเชื่อ ให้นักศึกษากิจกรรมกลุ่มการศึกษาวัฒนธรรม 4 ประเภทภายในมหาวิทยาลัยรังสิตได้แก่ คติธรรม เนติธรรม วัตถุธรรมและสหธรรม ว่า นักศึกษาในมหาวิทยาลัยรังสิตมีความเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรม 4 ประเภทนี้หรือไม่ อย่างไร มีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับวัฒนธรรม 4 ประเภท และนำวัฒนธรรมทั้ง 4 ประเภทนี้มาใช้ในชีวิตประจำวันหรือไม่ เพราะเหตุใด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรประเมินผลร้อยละนักศึกษาที่มี learning outcome ตามรายวิชาที่บูรณาการกับพันธกิจต่าง ๆ เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการต่อไป
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานผลประเมินการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติถึงสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชาโดยสรุปจาก RQF5 ว่าแต่ละรายวิชามีผลประเมินร้อยละนักศึกษาที่มี learning outcome ตาม curriculumn mapping เท่าใด เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.การวิพากษ์ การปรับปรุงข้อสอบ
เมื่อคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบกลางภาคและปลายภาคในแต่ละรายวิชาแล้วจะแจ้งผลการพิจารณาเพื่อให้อาจารย์ผู้สอนนำไปแก้ไขปรับปรุงข้อสอบตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ และหลังจากมีการสอบ อาจารย์ผู้สอนจะต้องส่งผลสอบเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาผลเกรด ก่อนที่จะทำการประกาศผลสอบ

2.การทวนสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐานการเรียนรู้ของนักศึกษา
สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักศึกษา ด้วยการทวนสอบรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมดในปีการศึกษา 2566 จำนวน 37 รายวิชา ด้วยการทวนสอบจำนวน 10 รายวิชา ซึ่งประกอบด้วย ภาคการศึกษาที่ 1/2566 คือ รายวิชา TRM 110 TRM 211 TRM 315 TRM 317 และ TRM 320 ภาคการศึกษาที่ 2/2566 คือ TRM 115 TRM 329 TRM 357 TRM 369 และTRM 381 โดยคิดเป็นร้อยละ 27.03 ซึ่งไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 ตามมาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักมาตรฐานวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิตอีกด้วย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและผลการทวนสอบพบว่าผ่านทุกด้าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในอนาคตควรเพิ่มรายงานสรุปสัมฤทธิผลการเรียนรุ้รายวิชา (clo) และรายงานทวนสอบผลสัมฤทธิ์การศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุม จำนวน 5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 โดยได้รับการรับทราบจาก สป.อว. เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2564 หลักสูตรศิลปะศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จำนวนรายวิชาที่มี RQF 3 และ RQF 4 ก่อนเปิดภาคการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จำนวนรายวิชาที่มี RQF 5 และ RQF 6 ก่อนเปิดภาคการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเปิดทำการสอนจำนวน 37 รายวิชา มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ จำนวน 10  วิชา คิดเป็นร้อยละ 27.03
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีการพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ ตามข้อเสนอแนะใน RQF.7 ของปีการศึกษา 2565 เช่น การเพิ่มการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอนทุกรายวิชา การเพิ่มกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในรายวิชาต่าง ๆ ด้วยการลงพื้นที่ฝึกปฏิบัติจริง ฝึกการทำงานเป็นทีมและใช้ทักษะด้านภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ ไม่มีการรับอาจารย์ใหม่ในหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคน ได้มีการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ทางวิชาการ/ วิชาชีพ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ ไม่มีบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ จัดทำแบบสอบถามเพื่อ ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.80

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อมูลข้อนี้ต้องรายงานให้ตรงกับตัวบ่งชี้ 2.1 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 37 รายวิชา โดยสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 37 รายวิชา โดยมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน ซึ่งรวมทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ย 4.41 จากคะแนนเต็ม 5.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ควรครอบคลุมนักศึกษาทุกชั้นปีการศึกษา) โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.10
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรจะต้องรายงานคะแนนให้ตรงกับ ตบช 6.1


 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ในหลักสูตรมีการติดตามประเมินผลเพื่อพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีการประเมินความพึงพอใจทั้งอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีผลประเมินที่มีแนวโน้มดี แต่ระดับคะแนนยังไม่ถึงขั้นดีมาก(4.51) และยังไม่ชัดเจนถึงการนำความเห็นของอาจารย์ และนักศึกษามาปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และยังไม่เชื่อมโยงความพอเพียงของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้กับรายวิชาต่าง ๆ และนำไปสู่การรายงาน learning outcome ที่ดี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีความสามารถในการผลิตผลงานวิชาการ ทำให้คะแนน QA ในส่วนค่าถ่วงน้ำหนกผลงานวิชาการได้ 5.0 เต็ม ควรจัดทำแผนในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
  2. หลักสูตรมีการบูรณาการ การเรียนการสอนกับพันธกิจวิจัย บริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมผ่านรายวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามพันะกิจและมีความหลากหลาย นำมาซึ่งทักษะที่นักศึกษาได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้น
  3. หลักสูตรการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการเป็นหลักสูตรอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ควรเพิ่มแนวทางการประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เพื่อรับนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น
  4. เป็นหลักสูตรที่เน้นการปฏิบัติ ทำให้นักศึกษาสามารถทำงานตอบสนองกับผู้ประกอบการได้ทันทีเมื่อสำเร็จการศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในการขอทุนวิจัยหรือทำงานวิจัย การเผยแพร่ผลงานวิจัยให้เพิ่มมากขึ้น
  2. ในการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ และการพัฒนานักศึกษา ควรตั้งเป้าหมายร้อยละนักศึกษาใหม่ที่มีความพร้อม และเป้าหมายร้อยละนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาความรู้ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกิจกรรม/โครงการ ตลอดจนคาดหวังการเพิ่มอัตราคงอยู่ และอัตราการสำเร็จการศึกษา
  3. ควรรายงานสรุปสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชา (clo) เพื่อนำสู่การปรับปรุงการเรียนการสอน และเปรียบเทียบผลประเมินว่ามีแนวโน้มที่ดีขึ้นหรือไม่ และควรแสดงหลักฐานรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร
  4. ควรรายงานการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษา
  5. ส่งเสริมอาจารย์ผุ้รับผิดชอบหลักสูตรให้ได้อบรมพัฒนาทางวิชาชีพมากขึ้น
  6. ควรส่งเสริมให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.41
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.62
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.53

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.52 4.52 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.63 - - 3.63 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.27 3.50 4.52 3.53 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก