รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะและเทคโนโลยีการประกอบอาหาร

วันที่ประเมิน: 10 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักสูตรควรแนบหลักฐาน สมอ08 เป็นปีปัจจุบัน
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรควรรายงานจำนวนผลงานใน "แบบรับรองความถูกต้องของผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปีการศึกษา" ให้ตรงกับจำนวนที่รายงานใน ตบช.1.1 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 63 4.78
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 61
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.78
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่นคือ บัณฑิตที่จบจากสาขานี้เป็นที่ยอมรับ และผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจเป็นอย่างมาก สังเกตได้จากคะแนนการประเมินในแต่ละด้านที่อยู่ในเกณฑ์มากที่สุดทุกรายการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
สำหรับองค์ประกอบนี้เป็นการประเมินผลลัพธ์ (output) ที่ได้จากการบริหารจัดการหลักสูตร ในโอกาศต่อไปอาจใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณ + แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง หรือให้ผู้ใช้บัณฑิตให้ข้อคิดเห็นนอกเหนือจากที่ระบุในแบบสอบถาม ถึงคุณภาพและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เพื่อนำมาปรับปรุงหลักสูตรที่จะสามารถผลิตบัณฑิตให้ตรงกับความต้องการจริงๆ ต่อไป 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 63 4.50
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 61
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 46
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 6
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 2
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 6
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 90.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.50
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่นคือ เป็นหลักสูตรที่สามารถผลิตบัณฑิตให้มีงานทำได้เกือบ 100% แนวทางเสริมคือ จัดทำฐานข้อมูลและ profile การได้งานทำของบัณฑิต สถานที่ ตำแหน่งงาน ความต้องการของสถานประกอบการในปัจจุบัน และฐานข้อมูลบัณฑิตที่ยังไม่มีงานทำ ศึกษาสาเหตุ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลปิดช่องว่างของการไม่มีงานทำ ให้มีจำนวนน้อยลง หรือทำให้บัณฑิตมีงานทำ 100%  
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรพัฒนาและส่งเสริมต่อยอดการได้งานทำจากการฝึกงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.64 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรฯ อาจเพื่มแนวทางในการทำการตลาดผ่านสื่อโซเชียลอื่นๆ ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากยิ่งขึ้น เช่น Tiktok 
2.การประเมินข้อนี้เป็นการประเมินปัจจัยนำเข้า (input) คือนักศึกษา จุดเด่นของหลักสูตรที่มีความเฉพาะทางของนักศึกษาที่จะรับเข้ามาศึกษา อาจใช้วิธีการเฟ้นหานักเรียนที่มีความสามารถโดดเด่นของการเป็น chef จากรายการแข่งขันต่างๆ หรือหลักสูตรอาจจัดแข่งขันเอง เพื่อเสนอมหาวิทยาลัยพิจารณาให้ทุนการศึกษาแก่ผู้ชนะ เป็นการดำเนินการเชิงรุก เกิดจุดเริ่มต้นของการสร้างภาพลักษณ์และชื่อเสียงให้กับหลักสูตรมากยิ่งขึ้น 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การประเมินความพึงพอใจของระบบรับนักศึกษา ควรนำเสนอเพื่อให้เห็นข้อมูลการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ทางหลักสูตรสามารถวางแผนเรื่องการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมกับนักศึกษาก่อนเปิดภาคการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ ทางหลักสูตรมีผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเพิ่มขึ้นจากปี 2565 จากการปรับปรุงกระบวนการเพื่อเพิ่มเติมเรื่องพื้นฐานภาษาอังกฤษ แต่ยังไม่เห็นเชิงประจักษ์จากการปรับปรุงกระบวน เช่น เรื่องอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา
2.หลักการของการเตรียมความพร้อมนักศึกษา ในการรายงานประเมินตนเอง ควรจัดกิจกรรมในกรอบเวลาก่อนเปิดภาคการศึกษาแรก คือ ก่อน Summer/ 2566 และควรเป็นกิจกรรมเสริมหรือปูพื้นฐานความรู้เฉพาะทางของหลักสูตร โดยไม่รวมการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ 

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี มีการทบทวนกระบวนการและพัฒนากระบวนการการให่คำปรึกษา
2.หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกที่มีความชัดเจนและเหมาะสมเพื่อให้เกิดการดูแลและใกล้ชิดกับนักศึกษามากขึ้นทั้งในด้านวิชาการและด้านส่วนตัว โดยจะเห็นได้จากคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์ที่ปรึกษาที่ในปีการศึกษา 2566 มีคะแนนเพิ่มขึ้นสูงขึ้นมากในหลายๆ ประเด็น โดยเฉพาะประเด็น อาจารย์มีมนุษย์สัมพันธ์ใจกว้าง เมตตากรุณา และ รับฟังความคิดเห็นของนักศึกษาทุกเรื่อง

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีระบบกลไก มีการวางแผนดำเนินการและการดำเนินการ แต่ขาดการสรุปประเมินผลการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์จากการปรับปรุงระบบและกลไก
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีกิจกรรมจำนวนมากในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มเติมการรายงานการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เช่น  ICT literacy, scientific literacy, media literacy, health literacy, life literacy, career skills  เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรม และแต่ละกิจกรรมควรมีการประเมินผลการดำเนินงานเพื่อนำผลสรุปการดำเนินการไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินการในปีการศึกษาต่อไปและผลลัพธ์ของการพัฒนานักศึกษานำไปสู่การได้รับรางวัล
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผลงานได้รับการตีพิมพ์จำนวนมาก นักศึกษามีส่วนร่วมในผลงาน โอกาสต่อไปอาจพัฒนาไปสู่การเตีพิมพ์ผยแพร่ในระดับนานาชาติให้มากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรสามารถเพิ่มเติมการรายงานการนำผลจากการทบทวนและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาปีที่ผ่านมา เมื่อเทียบกับปี 2566 ทำให้นักศึกษาสามารถสรา้งนวัตกรรมของตนเองจนได้รับรางวัลแล้วผลงานนั้นๆ สามารถนำไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคมและตอบยุทธศาสตร์ชาติอย่างไร จำนวน/คุณภาพของผลงานดีขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมาอย่างเป็นรูปธรรมอย่างไร 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 69.31
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 67.39
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 82.22
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.หลักสูตรควรเพิ่มเรื่องการให้คำปรึกษาและการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจกับนักศึกษาตัดสินใจเลือกเรียน เพื่อรักษาอัตราการคงอยู่อย่างต่อเนื่อง
2.เนื่องจากหลักสูตรคำนวณตังบ่ฃชี้ 3.3 ผิดทุกปี ถึงมีการแก้ไขก็ยังผิดซ้ำ ทั้งเรื่อง การคงอยู่ สำเร็จ ขอให้ปีการศึกษาหน้า หลักสูตรใช้ตารางคำนวณจากสำนักงานประกันคุณภาพ แล้วนำตัวเลขจำนวนนักศึกษากรอกลงตารางในคอลัมภ์ B C D E และ H จากนั้นตรวจสอบว่าตัวเลข จำนวนนศ.ที่สำเร็จ+คงอยู่+ตกออก เท่ากับ จำนวนรับเข้าของปีนั้นๆหรือไม่ หากไม่เท่ากัน ขอให้หลักสูตรกลับไปตรวจสอบตัวเลขจำนวน นศ.ที่จบ นศ.ตกออก และนศ.คงอยู่ อีกครั้งว่ามีตรงไหนผิดพลาด
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 1.45
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 61.11
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรฯควรมีแผนการติดตามนักศึกษาเพื่อสำเร็จการศึกษา
2.เนื่องจากหลักสูตรคำนวณตังบ่งชี้ 3.3 ผิดทุกปี ถึงมีการแก้ไขก็ยังผิดซ้ำ ทั้งเรื่อง การคงอยู่ สำเร็จ ขอให้ปีการศึกษาหน้า หลักสูตรใช้ตารางคำนวณจากสำนักงานประกันคุณภาพ แล้วนำตัวเลขจำนวนนักศึกษากรอกลงตารางในคอลัมภ์ B C D E และ H จากนั้นตรวจสอบว่าตัวเลข จำนวนนศ.ที่สำเร็จ+คงอยู่+ตกออก เท่ากับ จำนวนรับเข้าของปีนั้นๆหรือไม่ หากไม่เท่ากัน ขอให้หลักสูตรกลับไปตรวจสอบตัวเลขจำนวน นศ.ที่จบ นศ.ตกออก และนศ.คงอยู่ อีกครั้งว่ามีตรงไหนผิดพลาด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรฯ มีควรแผนการติดตามและการทำความเข้าใจเรื่องการฝึกงานหรือโครงงานเพื่อสำเร็จการศึกษา และการกำกับติดตามอย้่างใกล้ชิดให้สำเร็จการศึกษา
 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.77
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.37
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.74
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในทุกๆปีขอให้หลักสูตรรายงานผลประเมินพึงพอใจของปีเก่าตามเล่ม RQF.7 ของปีที่แล้ว ขอให้ปีหน้ามีการปรับปรุงในส่วนนี้ด้วย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้หลักสูตรแนบหลักฐานประกอบ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ เห็นผลเชิงประจักษ์จากจำนวนผลงานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
2.จากการดาเนินงานตามระบบและกลไกการบริหารและพัฒนาอาจารย์ประจาหลักสูตรทาให้ปีการศึกษา 2566 เกิดผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรม ปรากฏเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ ทั้งในเรื่องของผลางานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิพม์เพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก และเป็นการตีพิมพ์ในฐาน TCI 2 ถึง 5 เรื่อง และยังได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ Scopus Q4


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีการวางแผนและการดำเนินการรับสมัครอาจารย์ใหม่เพื่อทดแทนอาจารย์ที่ลาออก ที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรสามารถกำหนดเกณฑ์ในการรับอาจารย์ที่มาทดแทนให้มีความชัดเจนขึ้นได้จากปีที่ผ่านมา
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบกลไก การวางแผนการดำเนินการ การมอบหมายบทบาทแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ มีแผนการส่งเสริมอาจารย์ในการศึกษาต่อระดับปริญญาเอก งานด้านวิชาการ และการบริการวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรมีส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ด้าานการผลิตวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิชาการ และการบูรณาการกับการเรียนการสอนพัฒนาหลักสูตรให้ก้าวหน้าทันสมัยได้เป็นอย่างดี
2. หลักสูตรฯ มีระบบและกลไก รวมถึงเป้าหมายที่ชัดเจนในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนมีผลงานตีพิมพ์ในปีการศึกษา 2566
4. การเลือกแหล่งเผยแพร่ผลงาน ต่อจากนี้ควรเป็นเฉพาะวารสารทางวิชาการ มากกว่าการประชุมทางวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีการส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ในการศึกษาในระดับปริญญาเอก
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีอาจารย์ดำเนินการจัดทำผลงานทางวิชารที่สามารถยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการได้จำนวนมาก คาดว่าจะเข้าสู่กระบวนการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์) ได้อีกไม่นาน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 5 0 1
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการจำนวนมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรนำผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการต่อไป
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.80
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.85
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.90
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก อย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตรมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

47
45
95.74
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีระบบและกลไกในการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตร
2.หลักสูตรมีการปรับปรุงและพัฒนาเนื้อหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาทั้งระดับประเทศและต่างประเทศ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีการรายงานในประเด็นการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ มีการกำหนดคุณลักษณะของบัณฑิตที่เป็นไปตาม TQF และ DOE ควรกำหนดเป้าหมายและการวัดผลสัมฤทธิ์การออกแบบหลักสูตร (PLO) และสาระของรายวิชา (CLO) ให้ครอบคลุมกับประเด็นต่างๆ ดังกล่าว เพื่อเป็นเครื่องมือหรือแนวทางในการปรับปรุงการออกแบบหลักสูตรและสาระของรายวิชานั้นให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนต่อไป รวมถึงการต่อยอดเรื่องการบรูณาการรายวิชา ในการเข้าร่วมโครงการการแข่งขันระดับชาติ
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริงบูรณาการร่วมกับรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มเติมผลการประเมินหลักสูตร/วิพากย์/การสำรวจความต้องการของสถานประกอบหรือผู้ใช้บัณฑิตอย่างไร เพื่อนำมาปรับปรุงหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ/วิชาชีพ โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ เช่น มีรายวิชาอย่างน้อย 1 รายวิชาขึ้นไปในรอบปีการศึกษาที่มีหลักฐานการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย นำสู่การจัดการเรียนการสอนและมีผลประเมินการนำไปใช้ได้จริง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก การกำหนดผู้สอนและการดำเนินงานเรื่องการกำหนดผู้สอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบกลไกการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร มีระบบและกลไก การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเพิ่มเติมการรายงานการทบทวนกระบวนการและเรื่องประเด็นในการบูรณาการในด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น รวมถึงผลที่เป็นรูปธรรม

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีระบบและกลไกของการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร มีการทบทวนกระบวนการพัฒนาเพื่อให้เห็นผลชัดเจน
2.หลักสูตรฯ มีการวางแผนเป็นกลไก โดยนำข้อบกพร่องครั้งก่อนมาปรับปรุงให้การดำเนินการมีรูปธรรมที่ชัดเจนและมีการบริหารจัดการที่ดีขึ้น
3.หลักสูตรสามารถดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการติดตามประเมินผล ดูแลนักศึกษา นำข้อบกพร่องครั้งก่อนมาปรับปรุงให้การดำเนินการมีรูปธรรมที่ชัดเจนดีขึ้น

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกในการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF 5 ด้าน) และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 (DOE 3 ด้าน) 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การรายงานการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หลักสูตรต้องแสดงให้เห็นถึงการนำผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในแต่ละรายวิชาที่มีความเชื่อมโยงกับ TQF ว่าเป็นอย่างไร
 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกในการกำกับ ติดตาม ประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตรครบทุกรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตรวจสอบการรายงานมคอ.3 ไม่พบในการรายงาน พบแค่ มคอ.4 จำนวน 3 วิชา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตรวจสอบการรายงานจัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา  มคอ.5  พบแค่ มคอ.6 จำนวน 3 วิชา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หน้า 113 ข้อ 3. การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ ให้ระบุเป็น "ไม่มี" เนื่องจากหลักสูตรไม่ได้รับ อจ ผู้รับผิดชอบใหม่ในปี 2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผศ.ฉัฐชสรณ์ - เอกสารหลักฐาน ไม่มีตัวเลขค่าเฉลี่ยสรุุป ตามที่รายงานใน RQF.7
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แก้ไขจำนวนสรุปตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม เป็น 14 ข้อ เนื่องจากมี NA 1 ข้อ
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีระบบกลไกการพัฒนาปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีการดำเนินปรับปรุงในการสนับการเรียนการสอน ทำให้ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนอยู่ในระดับดี และมีผลงานเชิงประจักษ์
2.หลักสูตรฯ มีห้องปฏิบัติการประกอบอาหาร มีการจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัยและมีจำนวนเพียงพอต่อการใช้งาน มีโครงการวางแผนงานในการดูแลรักษา และมีการซ่อมบำรุงสม่ำเสมอ มีการสร้างกลไกเพื่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จนนำไปสู่ผลที่ดีขึ้น พัฒนาขึ้น ในเชิงประจักษ์ อีกทั้งยังได้รับการรับรองจากกรมพัฒนาฝีมือแรงให้เป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขาผู้ประกอบอาหารไทยระดับ 1 และ สาขาผู้ประกอบอาหารไทยระดับ 2 
3.มีการปรับปรุง แก้ไข ซ่อมแซมอย่างต่อเนื่อง 
4.ใช้ห้องปฏิบัติการเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน มีการใช้ประโยชน์ได้จริงเพื่อบริการวิชาการแบบมีรายได้ และได้มาตรฐานระดับชาติ 

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาให้ทันสมัยสอดคล้องกับเครื่องมือที่องค์กรวิชาชีพใช้
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีการปรับปรุงสิ่งสนับการเรียนรู้ในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นในทุกปี โดยนำผลการประเมินของอาจารย์และนักศึกษามาทบทวนเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการบูรณาการสิ่งสนับสนุนและสิ่งอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ร่วมกับสาขาวิชาต่างๆ ภายในวิทยาลัยได้อย่างเหมาะสม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการจัดสรรงบประมาณและจัดซื้อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ให้มีปริมาณที่เหมาะสมกับจำนวนนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ปรับการรายงานเพื่อแสดงถึงกระบวนการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ทำให้มีจำนวนเหมาะสมกับการใช้งาน และนักศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับการสนับสนุนในการแข่งขันจากโครงการต่างๆ อันเนื่องมาจากการมีสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่ทันสมัย เหมาะสม และเพียงพอ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรได้รับการรับรองจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานให้ดำเนินการเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขาผู้ประกอบการอาหารไทยระดับ 1 และ สาขาผู้ประกอบอาหารไทยระดับ 2 แสดงถึงศักยภาพของหลักสูตร เป็นศูนย์ทดสอบหน่วยงานภายนอก ซึ่งสามารถเป็นแหล่งประเมินผลลัพธ์ผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรม
  2. หลักสูตรมีห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย และมีการพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพได้มาตรฐานระดับประเทศ
  3. (แนวทางเสริม) หลักสูตรมีความเข้มแข็ง คณาจารย์มีความสามารถและเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น สามารถขยายการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ หรือสองภาษาได้ เพื่อเพิ่มกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาต่างชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรมีกระบวนการส่งเสริมให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
  2. หลักสูตรควรส่งเสริมและสนับสนุนเรื่องการพัฒนาคุณวุฒิปริญญาเอกของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และการผลิตผลงานทางวิชาการและวิจัยและต่อยอดเพื่อผลักดันการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
  3. หลักสูตรควรมีการบูรณาการรายวิชาร่วมกับองค์กรภายนอก สนับสนุนการเข้าร่วมโครงการระดับชาติ และมีส่งเสริมนักศึกษาให้เข้าร่วมการแข่งขันเพื่อสร้างชื่อเสียง และประชาสัมพันธ์หลักสูตร
  4. หลักสูตรควรนำส่งรายงาน RQF.7 และ Upload รายการหลักฐาน ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแนวปฏิบัติสำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2566

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.78
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.50
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.33
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.74

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.64 4.64 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.78 - - 3.78 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.33 4.00 4.64 3.74 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก