รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ

วันที่ประเมิน: 25 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและมีผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี ครบตามเกณฑ์

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ระบุรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)


 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ระบุชื่ออาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ และรายละเอียดครบตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ปรับปรุงหลักสูตรปีการศึกษา 2568 เพื่อใช้ปีการศึกษา 2569 

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 80 4.37
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 22
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.37
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- คะแนนเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4.37 อยู่ในระดับดีมากที่สุด (4.21-5.00)
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 80 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 58
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 29
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 12
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 14
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 2
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 1
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- เป็นไปตามเกณฑ์ และมีจำนวนผู้มีงานทำ ประกอบอาชีพอิสระ และประกอบธุรกิจส่วนตัวภายใน 1 ปี มีจำนวนรวม 55 คนคิดเป็นร้อยละ 100.00

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.69 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรมมากขึ้น
          1. การปรับกระบวนการในการรับสมัครผ่านสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ได้แก่ Facebook, Twitter, Instagram, TikTok เป็นต้น และทำการประชาสัมพันธ์กิจกรรมในหลักสูตรเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปีการศึกษา 2564 มีนักศึกษาแรกเข้าจำนวน 123 คน และปีการศึกษา 2565 มีนักศึกษาแรกเข้าจำนวน 159 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน
          2. การปรับกระบวนการดูแลโดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาติดตารางสอนซึ่งมี Office Hours ไว้หน้าห้องพักอาจารย์ หากนักศึกษาต้องการขอเข้าพบ และมีช่องทางการติดต่ออื่น ๆ เช่น Line ส่วนตัวของอาจารย์, การติดต่อผ่าน Application Zoom เป็นต้น ทำให้นักศึกษาใหม่มีความผ่อนคลาย ลดในความกังวลด้านต่าง ๆ และมีความสัมพันธ์ที่ดีมากขึ้น
          3. มีการประชุมเตรียมพร้อมให้กับนักศึกษาใหม่ในการสร้างความเข้าใจถึงโครงสร้างหลักสูตร การลงทะเบียนเรียน และการจัดตารางสอนด้วยตนเอง


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติในกระบวนการรับนักศึกษาโดยมีการประชุมอาจารย์ในสาขา และปรับกระบวนการในการรับสมัครผ่านสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ได้แก่ Facebook, Twitter, Instagram, TikTok เป็นต้น และทำการประชาสัมพันธ์กิจกรรมในหลักสูตรเพิ่มขึ้น ทำให้นักศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรมมากขึ้น
          - มีการปรับกระบวนการโดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาติดตารางสอนซึ่งมี Office Hours ไว้หน้าห้องพักอาจารย์ หากนักศึกษาต้องการขอเข้าพบ และมีช่องทางการติดต่ออื่น ๆ เช่น Line ส่วนตัวของอาจารย์, การติดต่อผ่าน Application Zoom เป็นต้น
          - จัดอาจารย์คณะบริหารธุรกิจเข้าสอนในวิชาสังคมธรรมาธิปไตย (RSU111) โดยให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ได้ทำโมเดลธุรกิจโดยใช้ Business Model Canvas ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่รายวิชาหลักทางการบริหารธุรกิจ 

          - เชิญเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มาบรรยายให้ความรู้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด การสืบค้นสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าชั้นเรียน
          - มีช่องทางหลายช่องทางในการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร การลงทะเบียน และการตารางสอน 
          -
หลักสูตรจัดระบบและกลไกการพัฒนานักศึกษาได้ดี และครอบคลมไปถึงการให้ความรู้แก่นักศึกษาในแต่ละแขนงวิชา


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          1. มีกิจกรรมส่งเสริมความเป็นนานาชาติหลายกิจกรรม (เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) ส่งผลให้มีนักศึกษาเข้าร่วมเกินกว่า 50% ของนักศึกษาทั้งสาขา (ค่าเป้าหมายที่มหาวิทยาลัยกำหนดคือ 30%)
          2. นักศึกษามีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในงาน Conference 
          3. นักศึกษาสาขาการจัดการเข้าร่วมกิจกรรม 5 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการฝึกอบรมทางการจัดการ (The Building Game) (2) โครงการความร่วมมือระหว่าง BME, COD และ RBS ในรายวิชา RSU111 (3) โครงการความร่วมมือทางวิชาการครั้งที่ 1 (4) โครงการความร่วมมือทางวิชาการครั้งที่ 2 และ (5) โครงการ International Activity ระหว่าง RIC VS RBS โดยมีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น 244 คนจากนักศึกษารหัส 62-65 447 คน (ร้อยละ 54.59) เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดความสำเร็จของมหาวิทยาลัย มีคะแนนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด (ร้อยละ 30)
     
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - มีช่องทางการสื่อสารระหว่างอาจารย์และนักศึกษาที่ชัดเจน ทั้งผ่านช่องทางออนไลน์ ได้แก่ Line, Zoom และเข้าพบโดยตรงที่มหาวิทยาลัย เพื่อรับคำปรึกษา โดยอาจารย์ที่ปรึกษาจะติดตารางเวลาให้คำปรึกษา (Office Hours) หน้าห้องพักอาจารย์
          - มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่เป็นระบบ มีช่องทางสำหรับให้นักศึกษาติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั้ง Offline และ Online
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - มีโครงการที่ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มีความเป็นนานาชาติหลายโครงการ  และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย 
          - หลักสูตรฯ มีการส่งเสริมพัฒนานักศึกษา โดยมีการส่งนักศึกษาสาขาการจัดการเข้าร่วมกิจกรรม 5 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการฝึกอบรมทางการจัดการ (The Building Game) (2) โครงการความร่วมมือระหว่าง BME, COD และ RBS ในรายวิชา RSU111 (3) โครงการความร่วมมือทางวิชาการครั้งที่ 1 (4) โครงการความร่วมมือทางวิชาการครั้งที่ 2 และ (5) โครงการ International Activity ระหว่าง RIC VS RBS โดยมีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น 244 คนจากนักศึกษารหัส 62-65 447 คน (ร้อยละ 54.59)

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - มีการส่งเสริมให้นักศึกษาเขียนบทความ 
          - มีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการสร้างผลงานวิจัย และการสร้างสรรนวัตกรรม ในรายวิชา MGT490 โดยให้นักศึกษาเขียนบทความวิชาการนำเสนอผลงานในการประชุมผลงานการวิจัยและวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการครั้งที่ 10 ประจำปี 2566 จัดโดยคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 5 บทความ
          - มีการพัฒนาส่งเสริมให้นักศึกษาในรายวิชา MGT424 นักศึกษาคิดค้นผลิตภัณฑ์ที่เป็นนวัตกรรม และเขียนแผนธุรกิจเพื่อความเป็นไปได้ของการนำนวัตกรรมที่คิดค้นมาทำเชิงพาณิชญ์ 


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2530 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2533)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 82.20
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 87.39
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 85.34
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาอยู่ในแนวโน้มที่ไม่ดี
 
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 61.02
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 61.26
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 59.48
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การสำเร็จการศึกษาของนักศึกษามีแนวโน้มไม่ดี
 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.12
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.13
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.15
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีคะแนนค่าเฉลี่ยความพึงพอใจตั้งแต่ปี 2563-2565 เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 4.12, 4.13, 4.15 ตามลำดับ 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
           อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรผลิตผลงานวิชาการเผยแพร่ในวารสารระดับที่สูงขึ้นตั้งแต่ TCI ฐาน 2 ขึ้นไปและเผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบการรับคัดเลือกอาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ (ปีการศึกษา 2564 และปีการศึกษา 2565 ไม่ได้รับอาจารย์ใหม่ เนื่องจากภาระการสอนของอาจารย์มีความเหมาะสม)

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกในการบริหารอาจารย์ โดยมีการประชุมอาจารย์ผู้สอนและมอบหมายภาระงานด้านการสอนที่สอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของแต่ละท่าน และมอบหมายภาระงานครบตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเพื่อการประเมินผลงานอาจารย์ทั้งด้านการสอน การผลิตผลงานวิชาการ การประชาสัมพันธ์หลักสูตร การประกันคุณภาพการศึกษา และเรื่องอื่น ๆ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ส่งเสริมให้อาจารย์ทำผลงานวิชาการโดยให้เวลาท่านละ 1 วันต่อสัปดาห์ ส่งผลให้ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561-2565 มีค่าน้ำหนักรวมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
          - แผนการพัฒนาอาจารย์ปรากฎเป็นภาพรวม ไม่ปรากฎแผนการพัฒนาอาจารย์เป็นรายปีที่ชัดเจน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)


 

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 9 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 55.56
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกมีจำนวน 5 คน จากอาจารย์ประจำหลักสูตร 9 คน ได้คะแนนเต็ม 5

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 9 1.85
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 7
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 22.22
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.85
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรดำรงตำแหน่งทางวิชาการมีจำนวนน้อย

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรผลักดันและสนับสนุนให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการ และจัดทำแผนการเข้าสู่การดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่ชัดเจน



 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 10 1 2 2 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 9
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 57.78
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มี 2 บทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1
- มี 2 บทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการมีจำนวนมากขึ้นจากปีการศึกษา 2564



 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรส่งเสริมให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 มากขึ้น หรือเผยแพร่ในระดับนานาชาติ

 
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.95 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีจำนวนเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ร้อยละ 100, 90, 100 ตามลำดับ

 
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจตั้งแต่ปี 2563-2565 เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 4.67, 4.70 และ 4.74 ตามลำดับ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรจัดให้มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างเป็นทางการเพื่อมีการบันทึกรายงานการประชุม และมีร่องรอยการบริหารหลักสูตร

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.65 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

40
40
100.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          1. มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 
          2. มีการเปิดการเรียนการสอน 40 รายวิชา และมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน 40 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 100.00 ซึ่งมากกว่าค่าเป้าหมายตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิตปีการศึกษา 2566-2569 คือร้อยละ 80.00 
          3. หลักสูตรมีการปรับลดจำนวนหน่วยกิตจาก 132 หน่วยกิต เป็น 126 หน่วยกิต เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ทำให้นักศึกษาสามารถจบการศึกษาเร็วขึ้นกว่าเดิม และเข้าสู่ตลาดแรงงานได้เร็วขึ้น
          4. หลักสูตรมีการออกแบบรายวิชาในหมวดพื้นฐานวิชาชีพให้มีการเรียนร่วมกันกับทุกสาขาวิชาในคณะบริหารธุรกิจ ทำให้เกิดองค์ความรู้ที่หลากหลายมากขึ้น เกิดการพัฒนาให้กับนักศึกษา
          5. หลักสูตรมีการออกแบบหลักสูตร ให้นักศึกษาเลือกเรียนปริญญาใบที่ 2 โดยเรียนเพิ่มอีก 9 หน่วยกิตต่อเนื่องจากเรียนปริญญาใบแรก ซึ่งส่งผลดีต่อการพัฒนาศักยภาพและนำวุฒิการศึกษาใน 2 สาขาวิชาไปประกอบวิชาชีพ

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป็นหลักสูตรที่ทำให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาได้เร็วขึ้น 
          - มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 
          - มีการเปิดการเรียนการสอน 40 รายวิชา และมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน 40 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 100.00 ซึ่งมากกว่าค่าเป้าหมายตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิตปีการศึกษา 2566-2569 ร้อยละ 80.00 
          - หลักสูตรมีการปรับลดจำนวนหน่วยกิตจาก 132 หน่วยกิต เป็น 126 หน่วยกิต เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
          - หลักสูตรมีการออกแบบรายวิชาในหมวดพื้นฐานวิชาชีพให้มีการเรียนร่วมกันกับทุกสาขาวิชาในคณะบริหารธุรกิจ
          - หลักสูตรมีการออกแบบหลักสูต ให้นักศึกษาเลือกเรียนปริญญาใบที่ 2 โดยเรียนเพิ่มอีก 9 หน่วยกิตต่อเนื่องจากเรียนปริญญาใบแรก
          - มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบันและตอบสนองต่อตลาดแรงงาน

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          - หลักสูตรมี 3 แขนงวิชาได้แก่ แขนงการจัดการทั่วไป แขนงการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และแขนงวิชาการเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งมีรายวิชาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งส่งเสริมให้เกิดอัตลักษณ์ของคณะบริหารธุรกิจเด่นชัดมากขึ้น
          - หลักสูตรทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันและตอบสนองต่อตลาดแรงงาน


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          1. นักศึกษามีการตีพิมพ์เผยแพร่บทความซึ่งเกิดจากการบูรณาการจัดการเรียนการสอนกับการบูรณาการวิจัย 
          2. มีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม​​​​​​ ในปีการศึกษา 2565 มีกิจกรรมการนำไปสู่การปฏิบัติด้านจิตอาสากับชุมชน ศาสนสถาน เป็นต้น และมีการเผยแพร่บทความวิชาการ จำนวน 5 ชิ้นงาน มีคะแนนถ่วงน้ำหนักรวมเท่ากับ 1.00 ทำให้เกิดพัฒนานักศึกษาให้เกิดผลงานอย่างรูปธรรมมากขึ้น
                   - รายวิชา MGT490 ให้นักศึกษามีการทำกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยร่วมกิจกรรมจิตอาสากับชุมชน ศาสนสถาน สถานสงเคราะห์เด็กอ่อน ศุนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯลฯ และในรายวิชา MGT490 
                   - รายวิชา MGT490 ให้นักศึกษาเขียนบทความวิชาการ จำนวน 5 ชิ้นงาน นำเสนอผลงานในการประชุมผลงานการวิจัยและวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 จัดโดยคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยมีคะแนนถ่วงน้ำหนักรวมเท่ากับ 1.00
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติโดยกำหนดผู้สอนจากประสบการณ์ความเชี่ยวชาญของอาจารย์แต่ละท่าน
- มีการปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มอาจารย์ใน 3 รายวิชา (MGT490, MGT200, MGT202) เพื่อให้สอดคล้องกับรายวิชาและการเพิ่มขึ้นของจำนวนนักศึกษา



 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรมีความเข้าใจในการจัดทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3 มคอ.4 และ มคอ.5 มากขึ้น อีกทั้งมีการดำเนินการวิธีสอนและวิธีการประเมินผลตามคุณลักษณะบัณฑิต 5 ด้านตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติที่กำหนดไว้ใน มคอ.2

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม​​​​​​ หลักสูตรมีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมในการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2565
  • รายวิชา MGT490 ให้นักศึกษามีการทำกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยร่วมกิจกรรมจิตอาสากับชุมชน ศาสนสถาน สถานสงเคราะห์เด็กอ่อน ศุนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯลฯ และในรายวิชา MGT490 
  • รายวิชา MGT490 ให้นักศึกษาเขียนบทความวิชาการ จำนวน 5 ชิ้นงาน นำเสนอผลงานในการประชุมผลงานการวิจัยและวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 จัดโดยคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยมีคะแนนถ่วงน้ำหนักรวมเท่ากับ 1.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกโดยมีรายละเอียดของเกณฑ์การวัดและการประเมินการเรียนรู้ที่ชัดเจนซึ่งอาจารย์จัดทำในแผนการเรียนรู้ มคอ.3 และ มคอ.4
- จัดทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3 และ มคอ.4 ที่มีรายละเอียดของเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ชัดเจนตาม กรอบมาตรฐาน 5 ด้าน ครอบคลุมผลลัพธ์นักศึกษาทั้ง 3 ด้าน


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์จำนวน 12 รายวิชาจากรายวิชาที่เปิดสอน 40 รายวิชาในปีการศึกษา 2565
- มีระบบการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ทางการศึกษาของนักศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ.3


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการจัดทำ มคอ.5 และ มคอ.6 ในปีการศึกษา 2565 ครบถ้วนทุกรายวิชา และมีการจัดทำ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังจากสิ้นสุดปีการศึกษา

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการประชุมอาจารย์ประจำผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานของหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมี มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ และมาตรฐานคุณวุฒิของสาขาวิชา เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 ครบทุกรายวิชาเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการรายงานผลการดำเนินดำเนินการของทุกรายวิชา โดยจัดทำ มคอ.5 และ มคอ.6 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร มคอ.7 เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ของนักศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนรู้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มีอาจารย์ใหม่ (N/A)

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มีบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (N/A)

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.15 จากคะแนนเต็ม 5.00

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.37 จากคะแนนเต็ม 5.00

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรวางแผนจัดการเรียนการสอนและดำเนินการตามแผน ได้ร้อยละ 100 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.58 จากคะแนนเต็ม 5.00

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.17 จากคะแนนเต็ม 5.00

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรมีการนำเอาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น Business Simulation Game ประกอบการเรียนการสอน
2. มีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ทำให้เกิดความพึงพอใจต่ออาจารย์และนักศึกษาเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง 3 ปี
  • มีคะแนนความพึงพอใจของอาจารย์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ตั้งแต่ปี 2563-2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.12, 4.13, 4.16 ตามลำดับ
  • มีคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ตั้งแต่ปี 2563-2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13, 4.14, 4.17 ตามลำดับ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกการบริหารและการจัดการโดยให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วม เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
  • สำนักงานทะเบียนสร้างระบบการสื่อสารและติดต่อกับสำนักงานทะเบียน การกรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ ผ่าน Line และ Google Form
  • คณะบริหารธุรกิจจัดอบรมให้อาจารย์เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน เช่น RSU-LMS, Google Meet, Zoom, Socrative และ Webex
  • คณะฯ ทำการสำรวจความต้องการในการใช้สิ่งสนับสนุนเพิ่มเติม

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการระบบออนไลน์ โดยใช้ Application ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน การติดต่อกับสำนักงานทะเบียน และการเข้าถึงข้อมูลในห้องสมุด
- มีจำนวนสิ่งสนับสนุนที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกกระบวนการปรับปรุงติดตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นรูปธรรม
  • มีคะแนนความพึงพอใจของอาจารย์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ตั้งแต่ปี 2563-2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.12, 4.13, 4.16 ตามลำดับ
  • มีคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ตั้งแต่ปี 2563-2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13, 4.14, 4.17 ตามลำดับ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาแรกเข้าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
  2. เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี แต่นักศึกษามีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในการประชุมวิชาการระดับชาติ จำนวน 5 ชิ้นงาน
  3. มีกิจกรรมที่เสริมสร้างความเป็นนานาชาติให้กับนักศึกษาหลายโครงการ
  4. ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่อยู่ในฐานขัอมูล TCI กลุ่ม 1 จำนวน 2 ชิ้นงาน ซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
  5. เป็นหลักสูตรที่ทำให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาเร็วขึ้น และสามารถได้ 2 ปริญญาโดยเรียนเพิ่มอีก 9 หน่วยกิต
  6. มีการใช้ Business Simulation Game ประกอบการเรียนการสอน
  7. อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนเข้าร่วมประชุมเพื่อพัฒนาปรับปรุงอย่างดี
  8. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีผลงานวิชาการต่อเนื่องตามเกณฑ์ที่กำหนด
  9. การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
  2. ส่งเสริมให้อาจารย์ประจำหลักสูตรเผยแพร่ผลงานวิจัยในฐานข้อมูลที่มีคุณภาพสูงขึ้น เช่น วารสาร TCI กลุ่ม 1, TCI กลุ่ม 2, วารสารระดับนานาชาติ เป็นต้น
  3. ควรเพิ่มแนวทางการติดตามและช่วยเหลือให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาเพิ่มขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.37
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.95
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.95

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.69 4.69 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.65 - - 3.65 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.71 4.00 4.69 3.95 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก